ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอโกรกพระ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 25: บรรทัด 25:
* '''ทิศใต้''' ติดต่อกับอำเภอพยุหะคีรี และ[[อำเภอเมืองอุทัยธานี]] ([[จังหวัดอุทัยธานี]])
* '''ทิศใต้''' ติดต่อกับอำเภอพยุหะคีรี และ[[อำเภอเมืองอุทัยธานี]] ([[จังหวัดอุทัยธานี]])
* '''ทิศตะวันตก''' ติดต่อกับ[[อำเภอทัพทัน]]และ[[อำเภอสว่างอารมณ์]] (จังหวัดอุทัยธานี)
* '''ทิศตะวันตก''' ติดต่อกับ[[อำเภอทัพทัน]]และ[[อำเภอสว่างอารมณ์]] (จังหวัดอุทัยธานี)

== ที่มาของชื่ออำเภอ ==
ที่มาของชื่อ "โกรกพระ" มีตำนานเล่าสืบต่อกันมาว่า ในการเดินทางไปมาของอำเภอโกรกพระในอดีตลำบากมาก มีทางเดียวคือทางน้ำโดยการใช้เรือ มีแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นสายหลัก น้ำในแต่ละช่วงนั้นไหลแรงและเชี่ยวมาก มีเรื่องเล่าว่า มีชาวบ้านหลายคนได้นำพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์องค์หนึ่งลงแพจากทางเหนือสู่ทางใต้เพื่อนำมาสักการบูชา ขณะที่ล่องแพมาถึงบริเวณนั้น แพได้แตก พระพุทธรูปจมลงใต้น้ำ ชาวบ้านเสียดายพระพุทธรูปเป็นอย่างมาก ได้พยายามช่วยกันหาวิธีที่จะนำขึ้นจากน้ำให้ได้ จึงได้ทำพิธีใช้เวทมนตร์คาถาจุดเทียนปักบนแพเพื่อหาทิศทางของพระพุทธรูป แต่เทียนก็ลอยตามพระพุทธรูปเคลื่อนย้ายไปมาอยู่เรื่อย ๆ แต่ก็ไม่สามารถนำขึ้นมาได้เพราะเวทมนตร์คาถายังขลังไม่พอ ประกอบกับมีชาวบ้านแห่แหนมาดูพิธีดังกล่าวมากมายจึงเป็นเหตุให้พิธีแตก จึงได้ล้มเลิกที่จะนำพระพุทธรูปขึ้นจากน้ำ จึงเชื่อกันว่า พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ก็ยังคงจมอยู่ใต้น้ำตรงบริเวณนั้น คำว่า "โกรกพระ" จึงเป็นชื่อของอำเภอโกรกพระตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
โกรกพระแต่เดิมนั้นชื่ออำเภอเนินศาลา ตั้งอยู่ที่ตำบลเนินศาลา เมื่อ ร.ศ.113 (พ.ศ. 2431) ในสมัยรัชกาลที่ 5 แต่เนื่องจากการติดต่อคมนาคมของประชาชนในสมัยนั้น อาศัยการเดินทางโดยทางเรือเป็นส่วนใหญ่
โกรกพระแต่เดิมนั้นชื่อ '''อำเภอเนินศาลา''' ตั้งอยู่ที่ตำบลเนินศาลา เมื่อ ร.ศ. 113 (พ.ศ. 2431) ในสมัยรัชกาลที่ 5 แต่เนื่องจากการติดต่อคมนาคมของประชาชนในสมัยนั้น อาศัยการเดินทางโดยทางเรือเป็นส่วนใหญ่ สถานที่ตั้งอำเภอเดิมไม่สะดวกในการติดต่อ จึงได้ย้ายมาตั้งที่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาด้านฝั่งตะวันตกที่บ้านโกรกพระ และเปลี่ยนชื่อเป็น '''อำเภอโกรกพระ''' เมื่อ ร.ศ. 118 หรือ (พ.ศ. 2442)
สถานที่ตั้งอำเภอเดิมไม่สะดวกในการติดต่อจึงได้ย้ายมาตั้งที่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาด้านฝั่งตะวันตก ที่บ้านโกรกพระ
จึงมีการเปลี่ยนชื่อเป็นอำเภอโกรกพระ เมื่อ ร.ศ. 118 หรือ (พ.ศ. 2442)

คำว่า"โกรกพระ" มีตำนานเล่าสืบต่อกันมาว่า ในการเดินทางไปมาของอำเภอโกรกพระแสนจะลำบากมาก มีทางเดียวคือทางน้ำโดยการใช้เรือ มีแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นสายหลัก น้ำในแต่ละช่วงนั้นไหลแรงและเชี่ยวมาก มีเรื่องเล่าว่า มีชาวบ้านหลายคนได้นำพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์องค์หนึ่งลงแพจากทางเหนือสู่ทางใต้เพื่อนำมาสักการบูชา ขณะที่ล่องแพมาถึงบริเวณนั้น แพได้แตก พระพุทธรูปจมลงใต้น้ำ ชาวบ้านเสียดายพระพุทธรูปเป็นอย่างมาก ได้พยายามช่วยกันหาวิธีที่จะนำขึ้นจากน้ำให้ได้ จึงได้ทำพิธีใช้เวทมนตร์คาถาจุดเทียนปักบนแพเพื่อหาทิศทางของพระพุทธรูป แต่เทียนก็ลอยตามพระพุทธรูปเคลื่อนย้ายไปมาอยู่เรื่อย ๆ แต่ก็ไม่สามารถนำขึ้นมาได้เพราะเวทมนตร์ คาถายังขลังไม่พอ ประกอบกับมีชาวบ้านแห่แหนมาดูพิธีดังกล่าวมากมายจึงเป็นเหตุให้พิธีแตก จึงได้ล้มเลิกที่จะนำพระพุทธรูปขึ้นจากน้ำ จึงเชื่อกันว่า พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ก็ยังคงจมอยู่ใต้น้ำตรงบริเวณนั้น คำว่า“โกรกพระ” จึงเป็นชื่อของอำเภอโกรกพระตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา

คำขวัญ “ โกรกพระ สวนสวย บึงงาม สมญานามเมืองลุงเชย ”
เนื่องในโอกาสที่อำเภอโกรกพระมีอายุครบ 101 ปี (ปี พ.ศ. 2543) ประชาชนชาวโกรกพระจึงได้ร่วมกันตั้งสมญานามของอำเภอ ซึ่งมีความหมายดังนี้

สวนสวย แสดงความหมายว่า อำเภอโกรกพระมีสวนที่ปลูกผลไม้นานาชนิด มีรสหอมหวาน คุณภาพดี อันได้แก่ ละมุด กล้วย มะละกอ กระท้อน ฝรั่งมะม่วง เป็นต้น


== คำขวัญประจำอำเภอ ==
บึงงาม แสดงความหมายว่า อำเภอโกรกพระมีแม่น้ำ แคว ห้วย หนอง คลอง บึง จำนวนมาก และมีทัศนียภาพที่สวยงามประชาชนได้อาศัยแหล่งน้ำเหล่านี้ดำรงชีวิตและสืบสานวัฒนธรรมทางน้ำตลอด
เนื่องในโอกาสที่อำเภอโกรกพระมีอายุครบ 101 ปี (ปี พ.ศ. 2543) ประชาชนชาวโกรกพระจึงได้ร่วมกันตั้งสมญานามของอำเภอว่า "โกรกพระ สวนสวย บึงงาม สมญานามเมืองลุงเชย" ซึ่งมีความหมายดังนี้


* '''สวนสวย''' แสดงความหมายว่า อำเภอโกรกพระมีสวนที่ปลูกผลไม้นานาชนิด มีรสหอมหวาน คุณภาพดี อันได้แก่ ละมุด กล้วย มะละกอ กระท้อน ฝรั่ง มะม่วง เป็นต้น
สมญานามเมืองลุงเชยสื่อความหมายว่าลุงเชยอันเป็นตัวละครหนึ่งในอมตนิยาย“พลนิกร กิมหงวน” ของ ป.อินทรปาลิต มาจากอำเภอโกรกพระลุงเชยซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของคนโกรกพระ มีนิสัย ซื่อสัตย์ ตรงไปตรงมา และสมถะ
* '''บึงงาม''' แสดงความหมายว่า อำเภอโกรกพระมีแม่น้ำ แคว ห้วย หนอง คลอง บึง จำนวนมาก และมีทัศนียภาพที่สวยงามประชาชนได้อาศัยแหล่งน้ำเหล่านี้ดำรงชีวิตและสืบสานวัฒนธรรมทางน้ำมาตลอด
* '''สมญานามเมืองลุงเชย''' สื่อความหมายว่าลุงเชยอันเป็นตัวละครหนึ่งในอมตนิยาย "[[พล นิกร กิมหงวน]]" ของ [[ป. อินทรปาลิต]] มาจากอำเภอโกรกพระ ลุงเชยซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของคนโกรกพระมีนิสัยซื่อสัตย์ ตรงไปตรงมา และสมถะ


== การปกครองส่วนภูมิภาค ==
== การแบ่งเขตการปกครอง ==
=== การปกครองส่วนภูมิภาค ===
อำเภอโกรกพระแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 9 [[ตำบล]] 65 [[หมู่บ้าน]] ได้แก่
อำเภอโกรกพระแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 9 [[ตำบล]] 65 [[หมู่บ้าน]] ได้แก่


บรรทัด 58: บรรทัด 56:
|}
|}


== การปกครองส่วนท้องถิ่น ==
=== การปกครองส่วนท้องถิ่น ===
ท้องที่อำเภอโกรกพระประกอบด้วย[[องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น]] 10 แห่ง ได้แก่
ท้องที่อำเภอโกรกพระประกอบด้วย[[องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น]] 10 แห่ง ได้แก่
* '''เทศบาลตำบลโกรกพระ''' ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลโกรกพระ
* '''เทศบาลตำบลโกรกพระ''' ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลโกรกพระ
บรรทัด 73: บรรทัด 71:


{{อำเภอจังหวัดนครสวรรค์}}
{{อำเภอจังหวัดนครสวรรค์}}
[[หมวดหมู่:อำเภอในจังหวัดนครสวรรค์|กโรกพระ]]
[[หมวดหมู่:อำเภอในจังหวัดนครสวรรค์|โกรกพระ]]
{{โครงจังหวัด}}
{{โครงจังหวัด}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:56, 5 กรกฎาคม 2556

อำเภอโกรกพระ
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันAmphoe Krok Phra
คำขวัญ: 
โกรกพระ สวนสวย บึงงาม
สมญานามเมืองลุงเชย
พิกัด: 12°34′47″N 102°31′30″E / 12.57972°N 102.52500°E / 12.57972; 102.52500
ประเทศ ไทย
จังหวัดนครสวรรค์
พื้นที่
 • ทั้งหมด297.194 ตร.กม. (114.747 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2552)
 • ทั้งหมด36,027 คน
 • ความหนาแน่น121.22 คน/ตร.กม. (314.0 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์ 60170
รหัสภูมิศาสตร์6002
ที่ตั้งที่ว่าการที่ว่าการอำเภอโกรกพระ เลขที่ 2 หมู่ที่ 6 ถนนสุขาภิบาล 1 ตำบลโกรกพระ อำเภอโกรกพระ จังหวัดนครสวรรค์ 60170
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

อำเภอโกรกพระ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครสวรรค์

ที่ตั้งและอาณาเขต

อำเภอโกรกพระตั้งอยู่ทางตอนกลางของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับอำเภอข้างเคียง ดังนี้

ที่มาของชื่ออำเภอ

ที่มาของชื่อ "โกรกพระ" มีตำนานเล่าสืบต่อกันมาว่า ในการเดินทางไปมาของอำเภอโกรกพระในอดีตลำบากมาก มีทางเดียวคือทางน้ำโดยการใช้เรือ มีแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นสายหลัก น้ำในแต่ละช่วงนั้นไหลแรงและเชี่ยวมาก มีเรื่องเล่าว่า มีชาวบ้านหลายคนได้นำพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์องค์หนึ่งลงแพจากทางเหนือสู่ทางใต้เพื่อนำมาสักการบูชา ขณะที่ล่องแพมาถึงบริเวณนั้น แพได้แตก พระพุทธรูปจมลงใต้น้ำ ชาวบ้านเสียดายพระพุทธรูปเป็นอย่างมาก ได้พยายามช่วยกันหาวิธีที่จะนำขึ้นจากน้ำให้ได้ จึงได้ทำพิธีใช้เวทมนตร์คาถาจุดเทียนปักบนแพเพื่อหาทิศทางของพระพุทธรูป แต่เทียนก็ลอยตามพระพุทธรูปเคลื่อนย้ายไปมาอยู่เรื่อย ๆ แต่ก็ไม่สามารถนำขึ้นมาได้เพราะเวทมนตร์คาถายังขลังไม่พอ ประกอบกับมีชาวบ้านแห่แหนมาดูพิธีดังกล่าวมากมายจึงเป็นเหตุให้พิธีแตก จึงได้ล้มเลิกที่จะนำพระพุทธรูปขึ้นจากน้ำ จึงเชื่อกันว่า พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ก็ยังคงจมอยู่ใต้น้ำตรงบริเวณนั้น คำว่า "โกรกพระ" จึงเป็นชื่อของอำเภอโกรกพระตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา

ประวัติ

โกรกพระแต่เดิมนั้นชื่อ อำเภอเนินศาลา ตั้งอยู่ที่ตำบลเนินศาลา เมื่อ ร.ศ. 113 (พ.ศ. 2431) ในสมัยรัชกาลที่ 5 แต่เนื่องจากการติดต่อคมนาคมของประชาชนในสมัยนั้น อาศัยการเดินทางโดยทางเรือเป็นส่วนใหญ่ สถานที่ตั้งอำเภอเดิมไม่สะดวกในการติดต่อ จึงได้ย้ายมาตั้งที่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาด้านฝั่งตะวันตกที่บ้านโกรกพระ และเปลี่ยนชื่อเป็น อำเภอโกรกพระ เมื่อ ร.ศ. 118 หรือ (พ.ศ. 2442)

คำขวัญประจำอำเภอ

เนื่องในโอกาสที่อำเภอโกรกพระมีอายุครบ 101 ปี (ปี พ.ศ. 2543) ประชาชนชาวโกรกพระจึงได้ร่วมกันตั้งสมญานามของอำเภอว่า "โกรกพระ สวนสวย บึงงาม สมญานามเมืองลุงเชย" ซึ่งมีความหมายดังนี้

  • สวนสวย แสดงความหมายว่า อำเภอโกรกพระมีสวนที่ปลูกผลไม้นานาชนิด มีรสหอมหวาน คุณภาพดี อันได้แก่ ละมุด กล้วย มะละกอ กระท้อน ฝรั่ง มะม่วง เป็นต้น
  • บึงงาม แสดงความหมายว่า อำเภอโกรกพระมีแม่น้ำ แคว ห้วย หนอง คลอง บึง จำนวนมาก และมีทัศนียภาพที่สวยงามประชาชนได้อาศัยแหล่งน้ำเหล่านี้ดำรงชีวิตและสืบสานวัฒนธรรมทางน้ำมาตลอด
  • สมญานามเมืองลุงเชย สื่อความหมายว่าลุงเชยอันเป็นตัวละครหนึ่งในอมตนิยาย "พล นิกร กิมหงวน" ของ ป. อินทรปาลิต มาจากอำเภอโกรกพระ ลุงเชยซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของคนโกรกพระมีนิสัยซื่อสัตย์ ตรงไปตรงมา และสมถะ

การแบ่งเขตการปกครอง

การปกครองส่วนภูมิภาค

อำเภอโกรกพระแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 9 ตำบล 65 หมู่บ้าน ได้แก่

1. โกรกพระ (Krok Phra) 8 หมู่บ้าน 6. ศาลาแดง (Sala Daeng) 5 หมู่บ้าน
2. ยางตาล (Yang Tan) 9 หมู่บ้าน 7. เนินกว้าว (Noen Kwao) 7 หมู่บ้าน
3. บางมะฝ่อ (Bang Mafo) 6 หมู่บ้าน 8. เนินศาลา (Noen Sala) 8 หมู่บ้าน
4. บางประมุง (Bang Pramung) 8 หมู่บ้าน 9. หาดสูง (Hat Sung) 6 หมู่บ้าน
5. นากลาง (Na Klang) 8 หมู่บ้าน

การปกครองส่วนท้องถิ่น

ท้องที่อำเภอโกรกพระประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 10 แห่ง ได้แก่

  • เทศบาลตำบลโกรกพระ ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลโกรกพระ
  • เทศบาลตำบลบางประมุง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบางประมุงทั้งตำบล
  • เทศบาลตำบลบางมะฝ่อ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบางมะฝ่อทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลโกรกพระ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลโกรกพระ (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลโกรกพระ)
  • องค์การบริหารส่วนตำบลยางตาล ครอบคลุมพื้นที่ตำบลยางตาลทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลนากลาง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลนากลางทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลศาลาแดง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลศาลาแดงทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลเนินกว้าว ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเนินกว้าวทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลเนินศาลา ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเนินศาลาทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลหาดสูง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหาดสูงทั้งตำบล