ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ประเทศไทย)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mr.GentleCN (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 218: บรรทัด 218:
* [[อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท]]
* [[อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท]]


== มรดกโลก ==
== มรดกโลกในภาคอีสาน ==

<gallery widths=200px heights=200px>
<gallery widths=200px heights=200px>
ไฟล์:KHAOYAI.JPG|''[[ป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่]] [[อำเภอวังน้ำเขียว]] และ [[อำเภอปากช่อง]] [[จังหวัดนครราชสีมา]]
ไฟล์:KHAOYAI.JPG|''[[ป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่]] [[อำเภอวังน้ำเขียว]] และ [[อำเภอปากช่อง]] [[จังหวัดนครราชสีมา]]
ไฟล์:Wat Pho Si Nai - UNESCO World Heritage Site plaque.JPG|''[[แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง]]''
ไฟล์:Wat Pho Si Nai - UNESCO World Heritage Site plaque.JPG|''[[แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง]]''
</gallery>


== เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ==
== เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ==
บรรทัด 256: บรรทัด 256:
* [[เลือดแปลง]]
* [[เลือดแปลง]]
* หมก เป็นอาหารประเภทหนึ่งที่ใช้ใบตองห่อนิยม ใช้กับเนื้อปลา ไก่ แมลง กบ เขียด ผักและหน่อไม้ หมกหรือห่อหมกของภาคอีสานจะไม่ใส่กะทิ
* หมก เป็นอาหารประเภทหนึ่งที่ใช้ใบตองห่อนิยม ใช้กับเนื้อปลา ไก่ แมลง กบ เขียด ผักและหน่อไม้ หมกหรือห่อหมกของภาคอีสานจะไม่ใส่กะทิ

<gallery widths=200px heights=200px>
ไฟล์:Plaraataladdonwai06.jpg|ปลาร้า
ไฟล์:Lap mu isan.JPG|ลาบ
ไฟล์:Som tam thai.JPG|ส้มตำ
ไฟล์:Khao Kam - Thailand.jpg|ข้าวเหนียว
</gallery>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:20, 30 มิถุนายน 2556

ภาคอีสาน

ภาคอีสาน หรือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นเขตหรือภาคหนึ่งทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย อยู่บนแอ่งโคราชและแอ่งสกลนคร มีแม่น้ำโขงกั้นเขตทางตอนเหนือและตะวันออกของภาค ทางด้านใต้จรดชายแดนกัมพูชา ทางตะวันตกมีเทือกเขาเพชรบูรณ์และเทือกเขาดงพญาเย็นเป็นแนวกั้นแยกจากภาคเหนือและภาคกลาง

ภาคอีสานยังมีเนื้อที่มากที่สุดของประเทศไทย ประมาณ 168,854 ตารางกิโลเมตร หรือมีเนื้อที่ร้อยละ 33.17 เทียบได้กับหนี่งในสามของพื้นที่ทั้งหมดของประเทศไทยได้จัดว่าเป็นพื้นที่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เทือกเขาที่สูงที่สุดในภาคอีสานคือ ยอดภูหลวง ภูพานและภูกระดึงซึ่งเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำสายสำคัญของชาวอีสานในหลายจังหวัดด้วยกัน เช่น แม่น้ำชี ลำตะคอง แม่น้ำพอง แม่น้ำเลย แม่น้ำพรม แม่น้ำมูล แม่น้ำสงคราม

ภาษาหลักของภาคนี้ คือ ภาษาอีสานซึ่งเป็นภาษาลาวสำเนียงหนึ่ง ส่วนภาษาไทยกลางนิยมใช้กันแพร่หลายโดยเฉพาะในเมืองใหญ่ ขณะเดียวกันยังมีภาษาเขมรที่ใช้กันมากในบริเวณอีสานใต้ นอกจากนี้ มีภาษาถิ่นอื่น ๆ อีกมาก เช่น ภาษาผู้ไท ภาษาโส้ ภาษาไทยโคราช เป็นต้น ภาคอีสานยังมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่โดดเด่น เช่น อาหาร ภาษา ดนตรีหมอลำ และศิลปะการฟ้อนรำที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ เป็นต้น


บุคคลสำคัญในภาคอีสาน

จังหวัดในภาคอีสาน

ภาคอีสานมีทั้งหมด 20 จังหวัด ตามราชบัณฑิตยสถาน และตามคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ[1] ซึ่งจัดแบ่งเหมือนกัน ดังนี้

สถิติประชากรของจังหวัดในภาคอีสาน

อันดับ จังหวัด จำนวน (คน)
(31 ธันวาคม 2555) [2]
! จำนวน (คน)
(31 ธันวาคม 2554) [3]
จำนวน (คน)
(31 ธันวาคม 2553) [4]
1 นครราชสีมา 2,601,167 2,585,325 2,582,089
2 อุบลราชธานี 1,826,920 1,816,057 1,813,088
3 ขอนแก่น 1,774,816 1,766,066 1,767,601
4 บุรีรัมย์ 1,566,740 1,559,085 1,553,765
5 อุดรธานี 1,557,298 1,548,107 1,544,786
6 ศรีสะเกษ 1,458,370 1,452,203 1,452,471
7 สุรินทร์ 1,386,277 1,380,399 1,381,761
8 ร้อยเอ็ด 1,308,570 1,305,058 1,309,708
9 ชัยภูมิ 1,133,034 1,127,423 1,127,423
10 สกลนคร 1,129,174 1,123,351 1,122,905
11 กาฬสินธุ์ 985,084 981,655 982,578
12 มหาสารคาม 945,149 939,736 940,911
13 นครพนม 708,350 704,768 703,392
14 เลย 629,787 624,920 624,066
15 ยโสธร 540,267 538,853 539,257
16 หนองคาย 512,439 509,870 509,395
17 หนองบัวลำภู 505,071 502,551 502,868
18 บึงกาฬ 412,613 407,634 403,542
19 อำนาจเจริญ 373,494 372,241 372,137
20 มุกดาหาร 342,868 340,581 339,575
รวม 21,697,488 21,585,883 21,573,318

เมืองใหญ่ของอีสานเรียงตามประชากร

  1. เทศบาลนครนครราชสีมา ประชากร 162,799 คน (อันดับที่ 3 ของประเทศ)
  2. เทศบาลนครอุดรธานี ประชากร 137,948 คน (อันดับที่ 6 ของประเทศ)
  3. เทศบาลนครขอนแก่น ประชากร 113,754 คน (อันดับที่ 8 ของประเทศ)
  4. เทศบาลนครอุบลราชธานี ประชากร 105,081 คน
  5. เทศบาลนครสกลนคร ประชากร 53,877 คน (อันดับที่ 36 ของประเทศ)
  6. เทศบาลเมืองมหาสารคาม ประชากร 46,523 คน
  7. เทศบาลเมืองหนองคาย ประชากร 46,180 คน
  8. เทศบาลเมืองศรีสะเกษ ประชากร 41,680 คน
  9. เทศบาลเมืองสุรินทร์ ประชากร 40,351 คน (อันดับที่ 54 ของประเทศ)
  10. เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ ประชากร 37,646 คน (อันดับที่ 63 ของประเทศ)
  11. เทศบาลเมืองชัยภูมิ ประชากร 37,477 คน (อันดับที่ 64 ของประเทศ)
  12. เทศบาลเมืองปากช่อง ประชากร 36,871 คน (อันดับที่ 65 ของประเทศ)
  13. เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด ประชากร 34,660 คน (อันดับที่ 69 ของประเทศ)
  14. เทศบาลเมืองมุกดาหาร ประชากร 34,486 คน (อันดับที่ 70 ของประเทศ)
  15. เทศบาลเมืองชุมแพ ประชากร 32,300 คน (อันดับที่ 73 ของประเทศ)
  16. เทศบาลเมืองบ้านไผ่ ประชากร 30,684 คน (อันดับที่ 76 ของประเทศ)
  17. เทศบาลเมืองวารินชำราบ ประชากร 30,360 คน (อันดับที่ 78 ของประเทศ)
  18. เทศบาลเมืองบุรีรัมย์ ประชากร 28,308 คน (อันดับที่ 82 ของประเทศ)
  19. เทศบาลเมืองนครพนม ประชากร 28,205 คน (อันดับที่ 84 ของประเทศ)
  20. เทศบาลเมืองอำนาจเจริญ ประชากร 25,987 คน (อันดับที่ 89 ของประเทศ)
  21. เทศบาลเมืองหนองสำโรง ประชากร 24,977 คน (อันดับที่ 93 ของประเทศ)
  22. เทศบาลเมืองเลย ประชากร 22,531 คน (อันดับที่ 100 ของประเทศ)
  23. เทศบาลเมืองยโสธร ประชากร 21,039 คน
  24. เทศบาลเมืองหนองบัวลำภู ประชากร 20,923 คน
  25. เทศบาลเมืองกันทรลักษ์ ประชากร 20,175 คน
  26. เทศบาลเมืองเดชอุดม ประชากร 14,386 คน
  27. เทศบาลเมืองเมืองพล ประชากร 12,083 คน
  28. เทศบาลเมืองกระนวน ประชากร 11,031 คน
  29. เทศบาลเมืองบัวขาว ประชากร 11,803 คน
  30. เทศบาลเมืองท่าบ่อ ประชากร 18,503 คน
  31. เทศบาลเมืองโนนสูง-น้ำคำ ประชากร 10,073 คน
  32. เทศบาลเมืองบ้านดุง ประชากร 16,003 คนเทศบาลเมืองบ้านดุง
  33. เทศบาลเมืองสีคิ้ว ประชากร 18,390 คน
  34. เทศบาลเมืองนางรอง ประชากร 21,274 คน
  35. เทศบาลเมืองชุมเห็ด ประชากร 20,193 คน
  36. เทศบาลเมืองวังสะพุง ประชากร 12,374 คน

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคอีสาน

เทศบาลนคร

เทศบาลเมือง

เทศบาลตำบล

อบต.

ท่าอากาศยานพาณิชย์

อุทยานแห่งชาติ

อุทยานประวัติศาสตร์

มรดกโลกในภาคอีสาน

เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า

อาหารหลักของชาวอีสาน

  • ปลาร้าหลน นำปลาร้าที่เป็นตัวใหญ่พอประมาณนำไปทอดในกระทะให้สุก นิยมกินกับข้าวเหนียว เครื่องเคียงมี พริกสด โหรพา กระเทียม
  • ข้าวจี่ จะนำข้าวเหนียวที่นึ่งสุกแล้ว ปั้นเป็นก้อนโรยเกลือเสียบไม้ นำไปย่างไฟ แล้วทาทับด้วยไข่
  • ปลาร้าบอง นำปลาร้าเป็นตัวมาสับให้ละเอียดพร้อมกับใส่เครื่องปรุง เช่น ตะไคร้ พริก หอม กระเทียม ใบมะกรูด
  • ลาบ
  • ไข่มดแดง
  • แกงอ่อม
  • แกงเห็ด
  • ก้อย
  • แกงผักหวานไข่มดแดง
  • หม่ำเนื้อ
  • ข้าวเหนียวไก่ย่าง
  • ส้มตำ ซึ่งในอีสานนั้นทางนครราชสีมาหรือ โคราช จะขึ้นชื่อความอร่อยมากเลยทีเดียว
  • เลือดแปลง
  • หมก เป็นอาหารประเภทหนึ่งที่ใช้ใบตองห่อนิยม ใช้กับเนื้อปลา ไก่ แมลง กบ เขียด ผักและหน่อไม้ หมกหรือห่อหมกของภาคอีสานจะไม่ใส่กะทิ

อ้างอิง

  1. http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=1378 ราชบัณฑิตยสถาน
  2. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat55.html 2555. สืบค้น 3 เมษายน 2556.
  3. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat54.html 2555. สืบค้น 6 เมษายน 2555.
  4. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [1] 2553. สืบค้น 22 มีนาคม 2554.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ภาคอีสาน