ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แคว้นมคธ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 34 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q234009 (translate me)
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{พุทธศาสนา}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:Ancient india.png|right|thumb|400px|แผนที่[[เอเชียใต้]] แสดงภาพแคว้นอินเดียโบราณทั้ง 16 แห่ง ซึ่งเรียกรวมกันว่า[[มหาชนบท]]]]
[[ไฟล์:Ancient india.png|right|thumb|250px|แผนที่[[เอเชียใต้]] แสดงภาพแคว้นอินเดียโบราณทั้ง 16 แห่ง ซึ่งเรียกรวมกันว่า[[มหาชนบท]]]]


'''แคว้นมคธ''' ([[บาลี]]/[[สันสกฤต]]: मगध ''มะคะธะ'') เป็นชื่อแคว้นหนึ่งในจำนวน 16 แคว้นใหญ่ใน[[ชมพูทวีป]]สมัย[[พุทธกาล]] มีเมืองหลวงชื่อ[[ราชคฤห์]] พระราชาที่ปกครองแคว้นมคธสมัยพุทธกาลคือ[[พระเจ้าพิมพิสาร]] ต่อจากนั้นคือ[[พระเจ้าอชาตศัตรู]]ผู้เป็นพระราชโอรส
'''แคว้นมคธ''' ([[บาลี]]/[[สันสกฤต]]: मगध ''มะคะธะ'') เป็นชื่อแคว้นหนึ่งในจำนวน 16 แคว้นใหญ่ใน[[ชมพูทวีป]]สมัย[[พุทธกาล]] มีเมืองหลวงชื่อ[[ราชคฤห์]] พระราชาที่ปกครองแคว้นมคธสมัยพุทธกาลคือ[[พระเจ้าพิมพิสาร]] ต่อจากนั้นคือ[[พระเจ้าอชาตศัตรู]]ผู้เป็นพระราชโอรส


'''แคว้นมคธ''' เป็นแคว้นที่พระพุทธเจ้าทรงเลือกประดิษฐานพระพุทธศาสนาเป็นแห่งแรกเพราะเป็นแคว้นใหญ่ และทรงรับสวน[[เวฬุวัน]]นอกเมืองราชคฤห์เป็น[[อาราม]]แห่งแรกในพระพุทธศาสนา
แคว้นมคธเป็นแคว้นที่พระพุทธเจ้าทรงเลือกประดิษฐานพระพุทธศาสนาเป็นแห่งแรกเพราะเป็นแคว้นใหญ่ และทรงรับสวน[[เวฬุวัน]]นอกเมืองราชคฤห์เป็น[[อาราม]]แห่งแรกในพระพุทธศาสนา


'''มคธ''' เป็นชื่อของภาษาด้วยคือ [[ภาษามคธ]] อันเป็นภาษาที่พระพุทธเจ้าทรงเลือกใช้ในการประกาศพระศาสนา ซึ่งต่อมาเรียกว่า [[ภาษาบาลี]] เพราะเป็นภาษาที่รักษาพระพุทธศาสนาเข้าไว้
มคธเป็นชื่อของภาษาด้วยคือ[[ภาษามคธ]] อันเป็นภาษาที่พระพุทธเจ้าทรงเลือกใช้ในการประกาศพระศาสนา ซึ่งต่อมาเรียกว่า[[ภาษาบาลี]] เพราะเป็นภาษาที่รักษาพระพุทธศาสนาเข้าไว้


==ประวัติศาสตร์มคธ==
== ประวัติศาสตร์มคธ ==
ราชอาณาจักรมคธถือเป็นอาณาจักรที่มีอำนาจมากที่สุดในชมพูทวีป ปกครองด้วยระบอบสมบูรณายาสิทธิราชย์ ถือกำเนิดขึ้นไล่เลี่ยกับการกำเนิดของมหาชนบท 16 แคว้น มีเมืองหลวงครั้งแรกชื่อ[[ราชคฤห์]] ต่อมาพระเจ้าอชาตศัตรูจึงย้ายเมืองหลวงไปยังปาฏลีบุตร ([[ปัฏนะ]]) ริมฝั่งแม่น้ำคงคา มคธได้ผ่านการรัฐประหารเปลี่ยนแปลงขั้วอำนาจมาหลายครั้ง ไม่ว่าจะมาจากอำมาตย์สุสุนาค มหาโจรนันทะ จันทรคุปต์ พราหมณ์ปุษยมิตร ฯลฯ แคว้นมคธได้สิ้นสุดลงในปี [[พ.ศ. 516]] กลายเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอันธระ ต่อมา ประมาณปลายพุทธศตวรรษที่ 9 ราชอาณาจักรมคธก็ฟื้นคืนชีพอีกครั้งในนามของ[[ราชวงศ์คุปตะ]] อันเป็นยุคคลาสสิกของอินเดีย ราชอาณาจักรมคธในยุคนี้ก็อยู่สืบต่อมา แต่มิใช่ศูนย์อำนาจอีกหลังคุปตะล่มสลาย จนกองทัพมุสลิมเติร์กเข้ายึดอินเดียเหนือได้ทั้งหมด จึงเป็นจุดสิ้นสุดที่แท้จริงของราชอาณาจักรมคธ
ราชอาณาจักรมคธถือเป็นอาณาจักรที่มีอำนาจมากที่สุดในชมพูทวีป ปกครองด้วยระบอบสมบูรณายาสิทธิราชย์ ถือกำเนิดขึ้นไล่เลี่ยกับการกำเนิดของมหาชนบท 16 แคว้น มีเมืองหลวงครั้งแรกชื่อ[[ราชคฤห์]] ต่อมาพระเจ้าอชาตศัตรูจึงย้ายเมืองหลวงไปยังปาฏลีบุตร ([[ปัฏนะ]]) ริมฝั่งแม่น้ำคงคา มคธได้ผ่านการรัฐประหารเปลี่ยนแปลงขั้วอำนาจมาหลายครั้ง ไม่ว่าจะมาจากอำมาตย์สุสุนาค มหาโจรนันทะ จันทรคุปต์ พราหมณ์ปุษยมิตร ฯลฯ แคว้นมคธได้สิ้นสุดลงในปี [[พ.ศ. 516]] กลายเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอันธระ ต่อมา ประมาณปลายพุทธศตวรรษที่ 9 ราชอาณาจักรมคธก็ฟื้นคืนชีพอีกครั้งในนามของ[[ราชวงศ์คุปตะ]] อันเป็นยุคคลาสสิกของอินเดีย ราชอาณาจักรมคธในยุคนี้ก็อยู่สืบต่อมา แต่มิใช่ศูนย์อำนาจอีกหลังคุปตะล่มสลาย จนกองทัพมุสลิมเติร์กเข้ายึดอินเดียเหนือได้ทั้งหมด จึงเป็นจุดสิ้นสุดที่แท้จริงของราชอาณาจักรมคธ


==รายพระนามกษัตริย์แห่งแคว้นมคธ==
== รายพระนามกษัตริย์แห่งแคว้นมคธ ==
{{พุทธศาสนา}}
กษัตริย์แห่งแคว้นมคธเท่าที่มีหลักฐานแน่นอน แบ่งออกเป็น 7 ราชวงศ์ ดังนี้
กษัตริย์แห่งแคว้นมคธเท่าที่มีหลักฐานแน่นอน แบ่งออกเป็น 7 ราชวงศ์ ดังนี้


===ราชวงศ์หารยังกะ===
=== ราชวงศ์หารยังกะ ===
# พระเจ้าภาติกะ
# พระเจ้าภาติกะ
# [[พระเจ้าพิมพิสาร]]
# [[พระเจ้าพิมพิสาร]]
บรรทัด 26: บรรทัด 25:
การสิ้นสุดของราชวงศ์หารยังกะ เกิดจากอำมาตย์สุสุนาคเห็นว่า ราชวงศ์หารยังกะเป็นราชวงศ์ปิตุฆาตโดยตลอด จึงทำรัฐประหารเพื่อมิให้เป็นเสนียดแก่อาณาจักรอีก
การสิ้นสุดของราชวงศ์หารยังกะ เกิดจากอำมาตย์สุสุนาคเห็นว่า ราชวงศ์หารยังกะเป็นราชวงศ์ปิตุฆาตโดยตลอด จึงทำรัฐประหารเพื่อมิให้เป็นเสนียดแก่อาณาจักรอีก


===[[ราชวงศ์สุสุนาค]]===
=== ราชวงศ์สุสุนาค ===
ตั้งโดยขุนนางชื่อสุสุนาค
ตั้งโดยขุนนางชื่อสุสุนาค
# พระเจ้าสุสุนาค
# พระเจ้าสุสุนาค
บรรทัด 34: บรรทัด 33:
การสิ้นสุดของราชวงศ์สุสุนาค เกิดจากมหาโจรนันทะก่อรัฐประหาร
การสิ้นสุดของราชวงศ์สุสุนาค เกิดจากมหาโจรนันทะก่อรัฐประหาร


===[[ราชวงศ์นันทะ]]===
=== ราชวงศ์นันทะ ===
ตั้งโดยมหาโจรชื่อนันทะ
ตั้งโดยมหาโจรชื่อนันทะ
# พระเจ้ามหาปัทมานันทะ
# พระเจ้ามหาปัทมานันทะ
บรรทัด 51: บรรทัด 50:
การสิ้นสุดของราชวงศ์นันทะ เกิดจากการทำรัฐประหารของจันทรคุปต์ ภายใต้การวางแผนของพราหมณ์จาณักยะ ซึ่งไม่พอใจราชสำนักปาฏลีบุตรในขณะนั้น
การสิ้นสุดของราชวงศ์นันทะ เกิดจากการทำรัฐประหารของจันทรคุปต์ ภายใต้การวางแผนของพราหมณ์จาณักยะ ซึ่งไม่พอใจราชสำนักปาฏลีบุตรในขณะนั้น


===[[ราชวงศ์เมาริยะ]]===
=== ราชวงศ์เมาริยะ ===
ตั้งโดยจันทรคุปต์
ตั้งโดยจันทรคุปต์
# [[พระเจ้าจันทรคุปต์]]
# [[พระเจ้าจันทรคุปต์]]
บรรทัด 65: บรรทัด 64:
การสิ้นสุดของราชวงศ์เมาริยะ มาจากการทำรัฐประหารของพราหมณ์ปุษยมิตร ซึ่งนับเป็นผลกระทบจากนโยบายของพระเจ้าอโศกมหาราชที่ส่งผลกระทบต่อพราหมณ์โดยตรง เมื่อราชวงศ์อ่อนแอ กลุ่มอำนาจพราหมณ์จึงเข้าทำรัฐประหาร และกวาดล้างพระพุทธศาสนาในมคธครั้งใหญ่ในเวลาต่อมา
การสิ้นสุดของราชวงศ์เมาริยะ มาจากการทำรัฐประหารของพราหมณ์ปุษยมิตร ซึ่งนับเป็นผลกระทบจากนโยบายของพระเจ้าอโศกมหาราชที่ส่งผลกระทบต่อพราหมณ์โดยตรง เมื่อราชวงศ์อ่อนแอ กลุ่มอำนาจพราหมณ์จึงเข้าทำรัฐประหาร และกวาดล้างพระพุทธศาสนาในมคธครั้งใหญ่ในเวลาต่อมา


===[[ราชวงศ์สุงคะ]]===
=== ราชวงศ์สุงคะ ===
ตั้งโดยพราหมณ์ชื่อปุษยมิตร
ตั้งโดยพราหมณ์ชื่อปุษยมิตร
# พระเจ้าปุษยมิตร
# พระเจ้าปุษยมิตร
บรรทัด 78: บรรทัด 77:
# พระเจ้าเทวภูติ
# พระเจ้าเทวภูติ


===[[ราชวงศ์กานวะ]]===
=== ราชวงศ์กานวะ ===
# พระเจ้าวาสุเทวะ
# พระเจ้าวาสุเทวะ
# พระเจ้าภูมิมิตร
# พระเจ้าภูมิมิตร
บรรทัด 86: บรรทัด 85:
หลังจากนั้น ปี [[พ.ศ. 516]] พระเจ้าศรีมุขะแห่งอันธระยึดแคว้นมคธได้เป็นอันว่าแคว้นมคธได้ล่มสลายลงเป็นครั้งแรก ก่อนจะฟื้นอีกครั้งใน[[ราชวงศ์คุปตะ]]
หลังจากนั้น ปี [[พ.ศ. 516]] พระเจ้าศรีมุขะแห่งอันธระยึดแคว้นมคธได้เป็นอันว่าแคว้นมคธได้ล่มสลายลงเป็นครั้งแรก ก่อนจะฟื้นอีกครั้งใน[[ราชวงศ์คุปตะ]]


==อ้างอิง==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* [[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. 9 [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด'''. '' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ, 2548
{{เริ่มอ้างอิง}}
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = [[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. 9 [[ราชบัณฑิต]]| ชื่อหนังสือ = พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด| URL = | จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = [[วัดราชโอรสาราม]]| ปี = 2548| ISBN = | จำนวนหน้า = | หน้า = }}
{{จบอ้างอิง}}


{{ราชอาณาจักรยุคกลางของอินเดีย}}
{{ราชอาณาจักรยุคกลางของอินเดีย}}
บรรทัด 93: บรรทัด 95:
{{จักรวรรดิ}}
{{จักรวรรดิ}}


[[หมวดหมู่:เมืองสำคัญทางศาสนาพุทธ|คแคว้นมคธ]]
[[หมวดหมู่:เมืองสำคัญทางศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:ประเทศอินเดีย|คแคว้นมคธ]]
[[หมวดหมู่:ประเทศอินเดีย]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ|คแคว้นมคธ]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:รัฐพิหาร]]
[[หมวดหมู่:รัฐพิหาร]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:06, 28 มิถุนายน 2556

แผนที่เอเชียใต้ แสดงภาพแคว้นอินเดียโบราณทั้ง 16 แห่ง ซึ่งเรียกรวมกันว่ามหาชนบท

แคว้นมคธ (บาลี/สันสกฤต: मगध มะคะธะ) เป็นชื่อแคว้นหนึ่งในจำนวน 16 แคว้นใหญ่ในชมพูทวีปสมัยพุทธกาล มีเมืองหลวงชื่อราชคฤห์ พระราชาที่ปกครองแคว้นมคธสมัยพุทธกาลคือพระเจ้าพิมพิสาร ต่อจากนั้นคือพระเจ้าอชาตศัตรูผู้เป็นพระราชโอรส

แคว้นมคธเป็นแคว้นที่พระพุทธเจ้าทรงเลือกประดิษฐานพระพุทธศาสนาเป็นแห่งแรกเพราะเป็นแคว้นใหญ่ และทรงรับสวนเวฬุวันนอกเมืองราชคฤห์เป็นอารามแห่งแรกในพระพุทธศาสนา

มคธเป็นชื่อของภาษาด้วยคือภาษามคธ อันเป็นภาษาที่พระพุทธเจ้าทรงเลือกใช้ในการประกาศพระศาสนา ซึ่งต่อมาเรียกว่าภาษาบาลี เพราะเป็นภาษาที่รักษาพระพุทธศาสนาเข้าไว้

ประวัติศาสตร์มคธ

ราชอาณาจักรมคธถือเป็นอาณาจักรที่มีอำนาจมากที่สุดในชมพูทวีป ปกครองด้วยระบอบสมบูรณายาสิทธิราชย์ ถือกำเนิดขึ้นไล่เลี่ยกับการกำเนิดของมหาชนบท 16 แคว้น มีเมืองหลวงครั้งแรกชื่อราชคฤห์ ต่อมาพระเจ้าอชาตศัตรูจึงย้ายเมืองหลวงไปยังปาฏลีบุตร (ปัฏนะ) ริมฝั่งแม่น้ำคงคา มคธได้ผ่านการรัฐประหารเปลี่ยนแปลงขั้วอำนาจมาหลายครั้ง ไม่ว่าจะมาจากอำมาตย์สุสุนาค มหาโจรนันทะ จันทรคุปต์ พราหมณ์ปุษยมิตร ฯลฯ แคว้นมคธได้สิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 516 กลายเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอันธระ ต่อมา ประมาณปลายพุทธศตวรรษที่ 9 ราชอาณาจักรมคธก็ฟื้นคืนชีพอีกครั้งในนามของราชวงศ์คุปตะ อันเป็นยุคคลาสสิกของอินเดีย ราชอาณาจักรมคธในยุคนี้ก็อยู่สืบต่อมา แต่มิใช่ศูนย์อำนาจอีกหลังคุปตะล่มสลาย จนกองทัพมุสลิมเติร์กเข้ายึดอินเดียเหนือได้ทั้งหมด จึงเป็นจุดสิ้นสุดที่แท้จริงของราชอาณาจักรมคธ

รายพระนามกษัตริย์แห่งแคว้นมคธ

กษัตริย์แห่งแคว้นมคธเท่าที่มีหลักฐานแน่นอน แบ่งออกเป็น 7 ราชวงศ์ ดังนี้

ราชวงศ์หารยังกะ

  1. พระเจ้าภาติกะ
  2. พระเจ้าพิมพิสาร
  3. พระเจ้าอชาตศัตรู
  4. พระเจ้าอุทัยภัทร
  5. พระเจ้าอนุรุทธะ
  6. พระเจ้ามุณฑกะ
  7. พระเจ้านาคทาสกะ

การสิ้นสุดของราชวงศ์หารยังกะ เกิดจากอำมาตย์สุสุนาคเห็นว่า ราชวงศ์หารยังกะเป็นราชวงศ์ปิตุฆาตโดยตลอด จึงทำรัฐประหารเพื่อมิให้เป็นเสนียดแก่อาณาจักรอีก

ราชวงศ์สุสุนาค

ตั้งโดยขุนนางชื่อสุสุนาค

  1. พระเจ้าสุสุนาค
  2. พระเจ้ากาฬาโศก
  3. พระเจ้าภัทรเสน

การสิ้นสุดของราชวงศ์สุสุนาค เกิดจากมหาโจรนันทะก่อรัฐประหาร

ราชวงศ์นันทะ

ตั้งโดยมหาโจรชื่อนันทะ

  1. พระเจ้ามหาปัทมานันทะ
  2. พระเจ้าธนนันทะ

บางตำราบอกว่ายังมีต่ออีก คือ

  1. พระเจ้าปัณฑกะ
  2. พระเจ้าปัณฑุกติ
  3. พระเจ้าภูตปาละ
  4. พระเจ้าราษฎระปาละ
  5. พระเจ้าโควิสาร
  6. พระเจ้าทสสิทธิกะ
  7. พระเจ้าไกวารตะ
  8. พระเจ้าธนะ

การสิ้นสุดของราชวงศ์นันทะ เกิดจากการทำรัฐประหารของจันทรคุปต์ ภายใต้การวางแผนของพราหมณ์จาณักยะ ซึ่งไม่พอใจราชสำนักปาฏลีบุตรในขณะนั้น

ราชวงศ์เมาริยะ

ตั้งโดยจันทรคุปต์

  1. พระเจ้าจันทรคุปต์
  2. พระเจ้าพินทุสาร
  3. พระเจ้าอโศกมหาราช
  4. พระเจ้าสัมปทิ
  5. พระเจ้าทศรถ
  6. พระเจ้าสาลิสุกะ
  7. พระเจ้าเทวธัมมะวรมนะ
  8. พระเจ้าสมตะธนุ
  9. พระเจ้าพฤหัสรถ

การสิ้นสุดของราชวงศ์เมาริยะ มาจากการทำรัฐประหารของพราหมณ์ปุษยมิตร ซึ่งนับเป็นผลกระทบจากนโยบายของพระเจ้าอโศกมหาราชที่ส่งผลกระทบต่อพราหมณ์โดยตรง เมื่อราชวงศ์อ่อนแอ กลุ่มอำนาจพราหมณ์จึงเข้าทำรัฐประหาร และกวาดล้างพระพุทธศาสนาในมคธครั้งใหญ่ในเวลาต่อมา

ราชวงศ์สุงคะ

ตั้งโดยพราหมณ์ชื่อปุษยมิตร

  1. พระเจ้าปุษยมิตร
  2. พระเจ้าอัคคนิมิตร
  3. พระเจ้าสุชเยษฐา
  4. พระเจ้าวสุมิตร
  5. พระเจ้าอรทรากะ
  6. พระเจ้าปุรินทกะ
  7. พระเจ้าโฆษวสุ
  8. พระเจ้าวัชรมิตร
  9. พระเจ้าภควตะ
  10. พระเจ้าเทวภูติ

ราชวงศ์กานวะ

  1. พระเจ้าวาสุเทวะ
  2. พระเจ้าภูมิมิตร
  3. พระเจ้านารายนะ
  4. พระเจ้าสุลารมัน

หลังจากนั้น ปี พ.ศ. 516 พระเจ้าศรีมุขะแห่งอันธระยึดแคว้นมคธได้เป็นอันว่าแคว้นมคธได้ล่มสลายลงเป็นครั้งแรก ก่อนจะฟื้นอีกครั้งในราชวงศ์คุปตะ

อ้างอิง