ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาซ่ง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Plesiosaur (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 23: บรรทัด 23:
==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
*หนังสือปลาน้ำจืดไทย โดย ดร.[[ชวลิต วิทยานนท์]] ([[พ.ศ. 2544]]) ISBN 974-472-655-5
*หนังสือปลาน้ำจืดไทย โดย ดร.[[ชวลิต วิทยานนท์]] ([[พ.ศ. 2544]]) ISBN 974-472-655-5
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Hypophthalmichthys nobilis}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Hypophthalmichthys nobilis|''Hypophthalmichthys nobilis''}}
==แหล่งข้อมูลอื่น==
==แหล่งข้อมูลอื่น==
*[http://www.fishbase.org/summary/speciessummary.php?id=275 รูปและข้อมูลปลาซ่ง]
*[http://www.fishbase.org/summary/speciessummary.php?id=275 รูปและข้อมูลปลาซ่ง]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:45, 26 มิถุนายน 2556

ปลาซ่ง
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Actinopterygii
อันดับ: Cypriniformes
วงศ์: Cyprinidae
สกุล: Hypophthalmichthys
สปีชีส์: H.  nobilis
ชื่อทวินาม
Hypophthalmichthys nobilis
(Richardson, 1845)
ชื่อพ้อง
  • Aristichthys nobilis

ปลาซ่ง หรือ ปลาซ่งฮื้อ หรือ ปลาหัวโต (อังกฤษ: Bighead carp, ชื่อวิทยาศาสตร์: Hypophthalmichthys nobilis) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) สกุล Hypophthalmichthys

มีลักษณะแบบเดียวกับ ปลาลิ่น (H. molitrix) ซึ่งเป็นปลาในสกุลเดียวกัน รวมทั้งมีขนาดและถิ่นกำเนิดในแหล่งเดียวกันอีกด้วย แต่ทว่าปลาซ่งจะมีส่วนหัวที่โตกว่าปลาลิ่น และส่วนท้องมนกลมไม่เป็นสันแคบเหมือนปลาลิ่น

ถูกนำเข้ามาสู่ประเทศไทยราวปี พ.ศ. 2465-พ.ศ. 2475 โดยเรือสำเภาของชาวจีนจากเมืองซัวเถา ต่อมากรมประมงสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ด้วยวิธีการฉีดฮอร์โมนและผสมเทียม ซึ่งปลาในธรรมชาติจะไม่วางไข่เอง ซึ่งจะทีชื่อเรียกรวม ๆ กันว่า "ปลาจีน"

ปัจจุบัน ปลาในสกุล Hypophthalmichthys ทั้ง 2 ชนิด รวมทั้งปลาเฉา (Ctenopharyngodon idella) เป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญของหลายประเทศในโลก รวมทั้งนิยมในการตกเป็นเกมกีฬา สำหรับในประเทศไทย เป็นที่นิยมรับประทานมากโดยเฉพาะชาวจีนหรือชาวไทยเชื้อสายจีน และนิยมเลี้ยงปลาทั้ง 3 ชนิดนี้รวมกันในบ่อเพื่อกินแพลงก์ตอนที่ทำให้น้ำเขียว และกินมูลจากปลาชนิดอื่น

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Hypophthalmichthys nobilis ที่วิกิสปีชีส์