ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จุดทิศหลัก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
'''จุดทิศหลัก''' หรือ '''ทิศทางหลัก''' หมายถึง[[ทิศทาง]]ทาง[[ภูมิศาสตร์]]ไปยังตำแหน่งต่าง ๆ อาทิ [[ทิศเหนือ]] (น., N) [[ทิศตะวันออก]] (ต.อ., E) [[ทิศใต้]] (ต., S) และ[[ทิศตะวันตก]] (ต.ต., W) ซึ่งเรียกโดยย่อว่า ''ทิศทั้งสี่'' หรือ ''สี่ทิศ'' โดยแนวทิศตะวันออก-ตะวันตก ทำ[[มุมฉาก]]กับแนวทิศเหนือ-ใต้ และทิศตะวันออกหมุนไป[[ตามเข็มนาฬิกา]]จากทิศเหนือ และยังมี '''จุดทิศรอง''' คือทิศที่อยู่ระหว่างจุดทิศหลักเป็นแนวเฉียง 45 [[องศา]] อันได้แก่ [[ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ]] (ต.อ.น., NE) [[ทิศตะวันออกเฉียงใต้]] (ต.อ.ต., SE) [[ทิศตะวันตกเฉียงใต้]] (ต.ต.ต., SW) และ[[ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ]] (ต.ต.น., NW) ซึ่งเรียกโดยรวมว่า ''ทิศทั้งแปด'' หรือ ''แปดทิศ'' นอกจากนี้ยังสามารถมีทิศย่อย ๆ ลงไปอีกก็ได้
'''จุดทิศหลัก''' หรือ '''ทิศทางหลัก''' หมายถึง[[ทิศทาง]]ทาง[[ภูมิศาสตร์]]ไปยังตำแหน่งต่าง ๆ อาทิ [[ทิศเหนือ]] (น., N) [[ทิศตะวันออก]] (ต.อ., E) [[ทิศใต้]] (ต., S) และ[[ทิศตะวันตก]] (ต.ต., W) ซึ่งเรียกโดยย่อว่า ''ทิศทั้งสี่'' หรือ ''สี่ทิศ'' โดยแนวทิศตะวันออก-ตะวันตก ทำ[[มุมฉาก]]กับแนวทิศเหนือ-ใต้ และทิศตะวันออกหมุนไป[[ตามเข็มนาฬิกา]]จากทิศเหนือ และยังมี '''จุดทิศรอง''' คือทิศที่อยู่ระหว่างจุดทิศหลักเป็นแนวเฉียง 45 [[องศา]] อันได้แก่ [[ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ]] (ต.อ.น., NE) [[ทิศตะวันออกเฉียงใต้]] (ต.อ.ต., SE) [[ทิศตะวันตกเฉียงใต้]] (ต.ต.ต., SW) และ[[ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ]] (ต.ต.น., NW) ซึ่งเรียกโดยรวมว่า ''ทิศทั้งแปด'' หรือ ''แปดทิศ'' นอกจากนี้ยังสามารถมีทิศย่อย ๆ ลงไปอีกก็ได้


จากจุดทิศหลักบน[[โลก]] หากผู้สังเกตการณ์บนพื้นผิวโลกยืนตรงหันหน้าไปทางทิศเหนือ ด้านหลังของเขาจะเป็นทิศใต้ ด้านขวาก็จะเป็นทิศตะวันออก และด้านซ้ายก็จะเป็นทิศตะวันตก เครื่องมือกำหนดพิกัดต่าง ๆ บนโลก มักทำงานโดยมองหาทิศเหนือเป็นหลักก่อน ถึงแม้ว่าทิศอื่นก็สามารถใช้ได้เหมือนกันถ้าหากเชื่อถือได้
หากผู้สังเกตการณ์บนพื้นผิว[[โลก]]ยืนตรงหันหน้าไปทางทิศเหนือ ด้านหลังของเขาจะเป็นทิศใต้ ด้านขวาก็จะเป็นทิศตะวันออก และด้านซ้ายก็จะเป็นทิศตะวันตก เครื่องมือกำหนดพิกัดต่าง ๆ บนโลก มักทำงานโดยมองหาทิศเหนือเป็นหลักก่อน ถึงแม้ว่าทิศอื่นก็สามารถใช้ได้เหมือนกันถ้าหากเชื่อถือได้


== จุดทิศหลักในวัฒนธรรมต่าง ๆ ==
== จุดทิศหลักในวัฒนธรรมต่าง ๆ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:23, 25 มิถุนายน 2556

วงเข็มทิศแสดงจุดทิศหลักทั้งสี่ จุดทิศรองทั้งสี่ และทิศย่อย ๆ อีกแปดทิศ

จุดทิศหลัก หรือ ทิศทางหลัก หมายถึงทิศทางทางภูมิศาสตร์ไปยังตำแหน่งต่าง ๆ อาทิ ทิศเหนือ (น., N) ทิศตะวันออก (ต.อ., E) ทิศใต้ (ต., S) และทิศตะวันตก (ต.ต., W) ซึ่งเรียกโดยย่อว่า ทิศทั้งสี่ หรือ สี่ทิศ โดยแนวทิศตะวันออก-ตะวันตก ทำมุมฉากกับแนวทิศเหนือ-ใต้ และทิศตะวันออกหมุนไปตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ และยังมี จุดทิศรอง คือทิศที่อยู่ระหว่างจุดทิศหลักเป็นแนวเฉียง 45 องศา อันได้แก่ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ (ต.อ.น., NE) ทิศตะวันออกเฉียงใต้ (ต.อ.ต., SE) ทิศตะวันตกเฉียงใต้ (ต.ต.ต., SW) และทิศตะวันตกเฉียงเหนือ (ต.ต.น., NW) ซึ่งเรียกโดยรวมว่า ทิศทั้งแปด หรือ แปดทิศ นอกจากนี้ยังสามารถมีทิศย่อย ๆ ลงไปอีกก็ได้

หากผู้สังเกตการณ์บนพื้นผิวโลกยืนตรงหันหน้าไปทางทิศเหนือ ด้านหลังของเขาจะเป็นทิศใต้ ด้านขวาก็จะเป็นทิศตะวันออก และด้านซ้ายก็จะเป็นทิศตะวันตก เครื่องมือกำหนดพิกัดต่าง ๆ บนโลก มักทำงานโดยมองหาทิศเหนือเป็นหลักก่อน ถึงแม้ว่าทิศอื่นก็สามารถใช้ได้เหมือนกันถ้าหากเชื่อถือได้

จุดทิศหลักในวัฒนธรรมต่าง ๆ

ภูมิศาสตร์โบราณ กล่าวถึงทิศอย่างน้อยสองทิศ เป็นปฐม เช่น การบอกว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ดังประโยคที่ว่า "ปรากฏที่ทิศตรง และบ้างก็มีปรากฏอยู่ด้านทิศเฉียงด้วยหากมองลงมาจากภูเขา" เป็นต้น ส่วนใหญ่หมายถึงทิศทั้งสี่ เป็นทิศตรงในการดูภูมิแบบสี่ทิศ นอกกว่าสี่ทิศนี้ คือ ทิศเฉียง เชื่อว่า ทิศที่หมายถึงทิศทั้งแปด[1] เป็นทิศตรงเช่นเดียวกัน เป็นการแบ่งจำนวนของทิศตรง

ทิศที่มีทิศเฉียงอีกสองประเภทคือ ทิศทั้งหกตามตำราทางพุทธศาสนา (ทิศทั้งสี่ รวมกับ ทิศเบื้องบน และทิศเบื้องล่าง) และทิศทั้งสิบตามตำราทางพุทธศาสนา (ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ทิศตะวันตกเฉียงใต้ ทิศเบื้องบน และทิศเบื้องล่าง) ทิศน้อยใหญ่ดังกล่าว เดิมที คงเรียกแต่ว่า เป็นทิศตรงหรือทิศเฉียงเท่านั้น กว่านั้นต่อมา จึงกำหนดชื่อ ซ้าย ขวา และแนวที่เป็นกำหนดนัดหมายต่อกันมากขึ้นตามลักษณะภูมิประเทศและดาราศาสตร์

อ้างอิง

  1. นักวิจัยต่างประเทศ[ใคร?] ที่ศึกษาวิจัยเรื่องทิศในเขมร เชื่อว่า ทิศทั้งแปด หมายถึงทิศ มังกร หมา โค ไก่ฟ้า ม้า หมูป่า ไก่ และแพะ ตามลำดับ[ต้องการอ้างอิง]