ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตรรกศาสตร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 110 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q8078 (translate me)
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
บรรทัด 3: บรรทัด 3:


== ที่มาของคำ ==
== ที่มาของคำ ==
ว่า ตรรกศาสตร์ คือ เราต้องหา เศา 1 ส่วน 2 x ฐาน x สูง เพื่อหาปริมาตร ของ เลข ตรรกศาสตร์ ลองไป ทำดู มีไร แอดเฟสมา Toon I'so
คำว่า "ตรรกศาสตร์" ในปัจจุบัน เป็น[[ศัพท์บัญญัติ]]ที่ใช้แทนแนวคิดเรื่อง Logic ในภาษาอังกฤษ ซึ่งมีรากศัพท์มาจากคำว่า λόγος (logos) ใน[[ภาษากรีก]] ที่มีความหมายเดิมว่าคำ หรือสิ่งที่ถูกกล่าว หลาย ๆ ประเทศที่ใช้[[อักษรโรมัน]]ในการเขียนก็มีศัพท์ที่พูดถึง[[แนวคิด]]นี้ในลักษณะชื่อที่คล้ายๆกัน


ใน[[ภาษาไทย]] เดิมมีคำนี้ใช้อยู่แล้ว ซึ่งน่าจะได้มาจาก[[ภาษาบาลี]] [[ภาษาสันสกฤต|สันสกฤต]] (อย่างเช่นใน [[กาลามสูตร]] 10 ข้อ ที่ มีกล่าวไว้ว่าข้อหนึ่งว่า "''อย่าเชื่อ เพราะ ได้คิดคำนึงเอาด้วย ตักฺกะ''") ซึ่งอาจจะมีความหมายไม่ตรงทีเดียวนักกับคำว่าตรรกศาสตร์ที่ใช้ในภาษาปัจจุบัน


[[หมวดหมู่:ตรรกศาสตร์|*]]
[[หมวดหมู่:ตรรกศาสตร์|*]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:23, 17 มิถุนายน 2556

ตรรกศาสตร์ (อังกฤษ: logic - มีรากศัพท์จากภาษากรีกคือ λόγος, logos) เป็นการศึกษาเชิงปรัชญาว่าด้วยการให้เหตุผล โดยมักจะเป็นส่วนสำคัญของวิชาปรัชญา คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ รวมถึงภาษาศาสตร์ ตรรกศาสตร์เป็นการตรวจสอบข้อโต้แย้งที่สมเหตุสมผล (valid argument) หรือการให้เหตุผลแบบผิดๆ (fallacies) ตรรกศาสตร์ เป็นการศึกษาที่มีมานานโดยมนุษยชาติที่เจริญแล้ว เช่น กรีก จีน หรืออินเดีย และถูกยกขึ้นเป็นสาขาวิชาหนึ่งโดย อริสโตเติล

ที่มาของคำ

ว่า ตรรกศาสตร์ คือ เราต้องหา เศา 1 ส่วน 2 x ฐาน x สูง เพื่อหาปริมาตร ของ เลข ตรรกศาสตร์ ลองไป ทำดู มีไร แอดเฟสมา Toon I'so

แม่แบบ:Link GA