ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Sasakubo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 28: บรรทัด 28:
มีการกระจายพันธุ์ในหลาย[[ทวีป]]ทั่วโลก ได้แก่ [[เอเชีย]], [[ยุโรป]], [[อเมริกาเหนือ]] และ[[แอฟริกา]] แบ่งออกได้เป็น 4 วงศ์ย่อย (ดูได้ในตาราง)<ref>[http://www.itis.gov/servlet/SingleRpt/SingleRpt?search_topic=TSN&search_value=175861 จาก itis.gov {{en}}]</ref> พบราว 156 [[สปีชีส์|ชนิด]] สำหรับใน[[ประเทศไทย]]พบทั้งสิ้น 26 ชนิด อาทิ [[ไก่นวล]] (''Rhizothera longirostris''), [[นกคุ่มญี่ปุ่น]] (''Coturnix japonica''), [[ไก่จุก]] (''Rollulus rouloul''), [[ไก่ป่า]] (''Gullus gullus'') เป็นต้น<ref>Madge, Steve; McGowan, Phil (2002). ''Pheasants, Partridges and Grouse''. Christopher Helm. ISBN 0-7136-3966-0.</ref>
มีการกระจายพันธุ์ในหลาย[[ทวีป]]ทั่วโลก ได้แก่ [[เอเชีย]], [[ยุโรป]], [[อเมริกาเหนือ]] และ[[แอฟริกา]] แบ่งออกได้เป็น 4 วงศ์ย่อย (ดูได้ในตาราง)<ref>[http://www.itis.gov/servlet/SingleRpt/SingleRpt?search_topic=TSN&search_value=175861 จาก itis.gov {{en}}]</ref> พบราว 156 [[สปีชีส์|ชนิด]] สำหรับใน[[ประเทศไทย]]พบทั้งสิ้น 26 ชนิด อาทิ [[ไก่นวล]] (''Rhizothera longirostris''), [[นกคุ่มญี่ปุ่น]] (''Coturnix japonica''), [[ไก่จุก]] (''Rollulus rouloul''), [[ไก่ป่า]] (''Gullus gullus'') เป็นต้น<ref>Madge, Steve; McGowan, Phil (2002). ''Pheasants, Partridges and Grouse''. Christopher Helm. ISBN 0-7136-3966-0.</ref>


นกในวงศ์นี้ มีความผูกพันกับ[[มนุษย์]]มาอย่างช้านาน ด้วยการใช้[[เนื้อไก่|เนื้อ]]และ[[ไข่]]บริโภคเป็นอาหาร อาทิ [[ไก่]]ที่เลี้ยงกันเป็น[[สัตว์เศรษฐกิจ]]ในปัจจุบัน ก็มีต้นทางมาจากไก่ป่า หรือไข่นกกระทา ก็นำมาจากไข่ของนกคุ่มญี่ปุ่น หรือบางชนิดที่มีความสวยงามหรือโดดเด่น ก็ถูกเลี้ยงเป็น[[สัตว์เลี้ยง]]สวยงาม เช่น [[ไก่ฟ้าสีทอง]] (''Chrysolophus pictus''), [[นกยูง]] (''Pavo'' spp.) เป็นต้น
นกในวงศ์นี้ มีความผูกพันกับ[[มนุษย์]]มาอย่างช้านาน ด้วยการใช้[[เนื้อไก่|เนื้อ]]และ[[ไข่]]บริโภคเป็นอาหาร อาทิ [[ไก่]]ที่เลี้ยงกันเป็น[[สัตว์เศรษฐกิจ]]ในปัจจุบัน ก็มีต้นทางมาจากไก่ป่า หรือไข่นกกระทา ก็นำมาจากไข่ของนกคุ่มญี่ปุ่น หรือบางชนิดที่มีความสวยงามหรือโดดเด่น ก็ถูกเลี้ยงเป็น[[สัตว์เลี้ยง]]สวยงาม เช่น [[ไก่ฟ้าสีทอง]] (''Chrysolophus pictus''), [[นกยูง]] (''Pavo'' spp.) เป็นต้น

==ดูเพิ่ม==
* [[นกคุ่ม]]


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
บรรทัด 35: บรรทัด 38:
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Phasianidae}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Phasianidae}}


==ดูเพิ่ม==
*[[นกคุ่ม]]


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:19, 25 พฤษภาคม 2556

วงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: โอลิโกซีน-ปัจจุบัน, 30–0Ma
ไก่ป่าตัวผู้ (Gallus gallus)
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Aves
อันดับ: Galliformes
วงศ์: Phasianidae
ชนิดต้นแบบ
Phasianus colchicus
Linnaeus, 1758
วงศ์ย่อย

วงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา (วงศ์: Phasianidae) เป็นวงศ์ของสัตว์ที่จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์ปีก อันดับไก่ (Galliformes) โดยใช้ชื่อวงศ์ว่า Phasianidae

ลักษณะโดยรวมของนกในวงศ์นี้ ก็คือ มีนิ้วเท้า 4 นิ้ว หลังข้อเท้ามีเดือยแหลม ใช้สำหรับป้องกันตัว จะงอยปากงุ้มแหลม กินเมล็ดพืชและสัตว์ขนาดเล็กต่าง ๆ โดยเฉพาะแมลงและหนอนบนพื้นดินเป็นอาหาร นิยมอยู่รวมกันเป็นฝูง ปีกมีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับนกในวงศ์อื่น จึงทำให้ไม่สามารถบินได้ แต่จะบินได้ในระยะใกล้ ๆ เช่น บินขึ้นต้นไม้ มักอาศัยอยู่ในป่าไผ่และป่าละเมาะ

มีความแตกต่างระหว่างเพศชัดเจน ตัวผู้จะมีขนาดและสีสันรวมทั้งลักษณะสวยงามกว่าตัวเมีย ไข่มีสีเปลือกทั้งขาว, สีนวล และลายประแต้มสีต่าง ๆ มีขนาดแตกต่างกันมาก ตั้งแต่ยาวเป็นเมตร จนเพียง 20 เซนติเมตร

มีการกระจายพันธุ์ในหลายทวีปทั่วโลก ได้แก่ เอเชีย, ยุโรป, อเมริกาเหนือ และแอฟริกา แบ่งออกได้เป็น 4 วงศ์ย่อย (ดูได้ในตาราง)[1] พบราว 156 ชนิด สำหรับในประเทศไทยพบทั้งสิ้น 26 ชนิด อาทิ ไก่นวล (Rhizothera longirostris), นกคุ่มญี่ปุ่น (Coturnix japonica), ไก่จุก (Rollulus rouloul), ไก่ป่า (Gullus gullus) เป็นต้น[2]

นกในวงศ์นี้ มีความผูกพันกับมนุษย์มาอย่างช้านาน ด้วยการใช้เนื้อและไข่บริโภคเป็นอาหาร อาทิ ไก่ที่เลี้ยงกันเป็นสัตว์เศรษฐกิจในปัจจุบัน ก็มีต้นทางมาจากไก่ป่า หรือไข่นกกระทา ก็นำมาจากไข่ของนกคุ่มญี่ปุ่น หรือบางชนิดที่มีความสวยงามหรือโดดเด่น ก็ถูกเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงาม เช่น ไก่ฟ้าสีทอง (Chrysolophus pictus), นกยูง (Pavo spp.) เป็นต้น

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. จาก itis.gov (อังกฤษ)
  2. Madge, Steve; McGowan, Phil (2002). Pheasants, Partridges and Grouse. Christopher Helm. ISBN 0-7136-3966-0.
  • McGowan, P.J.K. (1994) Family Phasianidae (Pheasants and Partridges) P.p. 434-479 in del Hoyo, J.; Elliot, A. & Sargatal, J. (editors). (1994). Handbook of the Birds of the World. Volume 2: New World Vultures to Guineafowl. Lynx Edicions. ISBN 8487334156


แหล่งข้อมูลอื่น