ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โปรแกรมคอมพิวเตอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Parithep (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Parithep (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10: บรรทัด 10:


ในยุคแรกของการใช้คอมพิวเตอร์ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์จะต้องเขียนโปรแกรม เพื่อสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ ทำงานตามที่สั่ง ตัวอย่างเช่น สั่งให้คอมพิวเตอร์แสดงตัวอักษรแบบต่างๆ แสดงประโยคที่ประกอบไปด้วยตัวอักษร สั่งให้พิมพ์ตัวอักษรออกไปยังเครื่องพิมพ์(Printer) โปรแกรมที่ได้รับความนิยมในสมัยนั้น ได้แก่ โปรแกรม [[CU Writer]] และ [[ราชวิถีเวิร์ดพีซี]] โดยใช้งานบนระบบปฏิบัติการดอส(DOS)
ในยุคแรกของการใช้คอมพิวเตอร์ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์จะต้องเขียนโปรแกรม เพื่อสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ ทำงานตามที่สั่ง ตัวอย่างเช่น สั่งให้คอมพิวเตอร์แสดงตัวอักษรแบบต่างๆ แสดงประโยคที่ประกอบไปด้วยตัวอักษร สั่งให้พิมพ์ตัวอักษรออกไปยังเครื่องพิมพ์(Printer) โปรแกรมที่ได้รับความนิยมในสมัยนั้น ได้แก่ โปรแกรม [[CU Writer]] และ [[ราชวิถีเวิร์ดพีซี]] โดยใช้งานบนระบบปฏิบัติการดอส(DOS)

หลังจากนั้น Microsoft และ Apple ได้เปิดตัวระบบปฏิบัติการที่ทำงานบนหน้าจอ(GUI) การใช้งานคอมพิวเตอร์ก็ไม่ต้องเขียนชุดคำสั่งเช่นเดิมอีกต่อไป จึงได้มีการเปลี่ยนการเรียกเป็น '''แอปพลิเคชั่นซอฟแวร์(Application Software) แทนคำว่าโปรแกรม'''
หลังจากนั้น Microsoft และ Apple ได้เปิดตัวระบบปฏิบัติการที่ทำงานบนหน้าจอ(GUI) การใช้งานคอมพิวเตอร์ก็ไม่ต้องเขียนชุดคำสั่งเช่นเดิมอีกต่อไป จึงได้มีการเปลี่ยนการเรียกเป็น '''แอปพลิเคชั่นซอฟแวร์(Application Software) แทนคำว่าโปรแกรม'''


แต่ผู้แปลคำศัพท์ภาษาไทย กลับแปลคำว่า '''Application software''' ว่า '''โปรแกรมประยุกต์''' ที่ถูกควรเรียกทับศัพท์ว่า '''ซอฟต์แวร์ประยุกต์''' จะตรงตามความหมายที่สุด
แต่ผู้แปลคำศัพท์ภาษาไทยแปลคำว่า '''Application software''' ว่า '''โปรแกรมประยุกต์''' อันที่จริงควรเรียกทับศัพท์ว่า '''ซอฟต์แวร์ประยุกต์''' จะตรงตามความหมายที่สุด





รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:33, 20 พฤษภาคม 2556

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (อังกฤษ: computer program) คือ กลุ่มชุดคำสั่งที่ใช้อธิบายชิ้นงาน หรือกลุ่มงานที่จะประมวลผลโดยคอมพิวเตอร์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์อาจหมายถึง ซอฟต์แวร์ แอปพลิเคชัน หรือ โปรแกรม โปรแกรมคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่นั้นเป็นชุดคำสั่งที่ออกแบบตามขั้นตอนวิธี โดยปกติแล้วเขียนโดยโปรแกรมเมอร์ หรือไม่ก็สร้างโดยโปรแกรมอื่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ชุดหนึ่ง ๆ อาจเขียนขึ้นด้วยระบบรหัส หรือที่เรียกว่า ภาษาเครื่อง ซึ่งมักเขียนได้ยากและเหมาะกับช่างเทคนิคเฉพาะทาง ภายหลังจึงได้มีการสร้างภาษาโปรแกรมที่ใกล้เคียงภาษามนุษย์มากขึ้น เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) ภาษาซี (C) ภาษาโคบอล (COBOL) ภาษาเบสิก (BASIC) ภาษา C# ภาษาจาวา เป็นต้น ผู้เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์อาจเขียนโปรแกรมไว้ใช้ส่วนตัว หรือเพื่อให้ผู้อื่นใช้ต่อ ไม่ว่าจะเป็นโปรแกรมประยุกต์หรือไลบรารี เช่น โปรแกรมสำหรับวาดภาพ (graphics) โปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) โปรแกรมตารางจัดการ (spread sheet) โปรแกรมระบบ (systems software) ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยมักติดตั้งมาจากโรงงานที่ผลิต และโปรแกรมระบบปฏิบัติการ (operating system) ที่จะทำหน้าที่เหมือนผู้จัดการคอยดูแลให้อุปกรณ์ต่าง ๆ ทำงานให้ประสานกัน ในการเขียนโปรแกรม ผู้เขียนจะต้องเข้าใจขั้นตอนวิธี (ขั้นตอนวิธี) และภาษาที่จะใช้เป็นอย่างดี จึงจะสามารถเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมเครื่องให้ทำงานได้ตามความต้องการ

ในภาษาไทยใช้คำว่า โปรแกรม แทนคำภาษาอังกฤษว่า Computer program และ software ทั้งนิยมเรียก 'การติดตั้งซอฟต์แวร์ ว่า 'การลงโปรแกรม ซึ่งไม่ตรงกับความหมายในภาษาอังกฤษที่ใช้กันในทุกวันนี้ ทำให้ผู้ใช้งานคอมพิวเตอณืในปัจจุบันเกิดความสับสน

ในยุคแรกของการใช้คอมพิวเตอร์ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์จะต้องเขียนโปรแกรม เพื่อสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ ทำงานตามที่สั่ง ตัวอย่างเช่น สั่งให้คอมพิวเตอร์แสดงตัวอักษรแบบต่างๆ แสดงประโยคที่ประกอบไปด้วยตัวอักษร สั่งให้พิมพ์ตัวอักษรออกไปยังเครื่องพิมพ์(Printer) โปรแกรมที่ได้รับความนิยมในสมัยนั้น ได้แก่ โปรแกรม CU Writer และ ราชวิถีเวิร์ดพีซี โดยใช้งานบนระบบปฏิบัติการดอส(DOS)

หลังจากนั้น Microsoft และ Apple ได้เปิดตัวระบบปฏิบัติการที่ทำงานบนหน้าจอ(GUI) การใช้งานคอมพิวเตอร์ก็ไม่ต้องเขียนชุดคำสั่งเช่นเดิมอีกต่อไป จึงได้มีการเปลี่ยนการเรียกเป็น แอปพลิเคชั่นซอฟแวร์(Application Software) แทนคำว่าโปรแกรม

แต่ผู้แปลคำศัพท์ภาษาไทยแปลคำว่า Application software ว่า โปรแกรมประยุกต์ อันที่จริงควรเรียกทับศัพท์ว่า ซอฟต์แวร์ประยุกต์ จะตรงตามความหมายที่สุด


ดูเพิ่ม