ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมหลวงเสรี ปราโมช"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''หม่อมหลวงเสรี ปราโมช''' นักการเมืองและนักดนตรีชาวไทย ได้ถึงแก่กรรมในปี [[พ.ศ. 2550]]
'''หม่อมหลวงเสรี ปราโมช''' อดีตนักการเมืองและนักดนตรีชาวไทย ได้ถึงแก่กรรมในปี [[พ.ศ. 2550]]


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
== การเมือง ==
== การเมือง ==


ในทางการเมืองเคยลงรับเลือกตั้งใน[[จังหวัดนครปฐม]] สังกัด[[พรรคประชาธิปัตย์]] ตามคำเชื้อชวนของนาย[[สราวุธ นิยมทรัพย์]] ส.ส.เขตพื้นที่ของพรรค ม.ล.เสรี ปราโมช ไม่ได้รับการเลือกตั้ง จากนั้นในปี [[พ.ศ. 2522]] ม.ล.เสรี ปราโมช ได้ลงรับเลือกตั้งอีก ในเขต[[กรุงเทพมหานคร]]ในทีมเดียวกับ ศาสตราจารย์ (พิเศษ) [[มารุต บุนนาค]] ก็ปรากฏว่าไม่ได้รับการเลือกตั้งอีก จนกระทั่งในปี [[พ.ศ. 2529]] ม.ล.เสรี ปราโมช จึงได้รับการเลือกตั้ง โดยได้รับการเลือกตั้งใน[[เขตพระนคร]] [[เขตสัมพันธวงศ์]] [[เขตบางรัก]] [[เขตปทุมวัน]] [[เขตพญาไท]] และ[[เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย]]
ในทางการเมืองเคยลงรับเลือกตั้งใน[[จังหวัดนครปฐม]] สังกัด[[พรรคประชาธิปัตย์]] ตามคำเชื้อชวนของ นาย[[สราวุธ นิยมทรัพย์]] ส.ส.เขตพื้นที่ของพรรค ม.ล.เสรี ปราโมช ไม่ได้รับการเลือกตั้ง จากนั้นในปี [[พ.ศ. 2522]] ม.ล.เสรี ปราโมช ได้ลงรับเลือกตั้งอีก ในเขต[[กรุงเทพมหานคร]]ในทีมเดียวกับ ศาสตราจารย์ (พิเศษ) [[มารุต บุนนาค]] ก็ปรากฏว่าไม่ได้รับการเลือกตั้งอีก จนกระทั่งในปี [[พ.ศ. 2529]] ม.ล.เสรี ปราโมช จึงได้รับการเลือกตั้ง โดยได้รับการเลือกตั้งใน[[เขตพระนคร]] [[เขตสัมพันธวงศ์]] [[เขตบางรัก]] [[เขตปทุมวัน]] [[เขตพญาไท]] และ[[เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย]]

ซึ่งในระหว่างที่ ม.ร.ว.เสนีย์ ผู้เป็นบิดาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในระหว่างปี พ.ศ. 2518-พ.ศ. 2519 อยู่นั้น ม.ล.เสรี อยู่ในฐานะเลขานุการส่วนตัวนายกรัฐมนตรี เหมือนเช่น นาย[[กล้าณรงค์ จันทิก]] แต่ทว่ามิได้ถูกแต่งตั้งให้เป็นเลขาธิการนายกรัฐมนตรีอย่างเป็นทางการ ทั้งที่เป็นบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถเต็มที่ เมื่อมีผู้ถามถึงในเรื่องนี้ ม.ร.ว.เสนีย์ เฉลยว่าเป็นเหตุผลของความเหมาะสม<ref name="หนังสือ"/>


== ดนตรี ==
== ดนตรี ==
ม.ล.เสรี ปราโมช นิยมการเล่นดนตรี โดยเฉพาะดนตรีสากลตามบิดา คือ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช และเคยเข้าร่วมเป็นสมาชิก[[วง อ.ส.วันศุกร์ ]]เล่นดนตรีร่วมและถวายแด่[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]ร่วมกับบิดา และน้องชาย ม.ล.[[อัศนี ปราโมช]] ด้วย <ref>หนังสือ ชีวลิขิต โดย หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช : [[กรุงเทพมหานคร]] [[พ.ศ. 2548]] ISBN 9789749353509</ref>
ม.ล.เสรี ปราโมช นิยมการเล่นดนตรี โดยเฉพาะดนตรีสากลตามบิดา คือ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช และเคยเข้าร่วมเป็นสมาชิก[[วง อ.ส.วันศุกร์ ]]เล่นดนตรีร่วมและถวายแด่[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]ร่วมกับบิดา และน้องชาย ม.ล.[[อัศนี ปราโมช]] ด้วย <ref name="หนังสือ">หนังสือ ชีวลิขิต โดย หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช : [[กรุงเทพมหานคร]] [[พ.ศ. 2548]] ISBN 9789749353509</ref>


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:56, 19 พฤษภาคม 2556

หม่อมหลวงเสรี ปราโมช อดีตนักการเมืองและนักดนตรีชาวไทย ได้ถึงแก่กรรมในปี พ.ศ. 2550

ประวัติ

หม่อมหลวงเสรี ปราโมช เกิดในปี พ.ศ. 2475 มีชื่อเล่นว่า "ต้อย" เป็นบุตรชายคนโต ของหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และท่านผู้หญิงอุศนา ปราโมช (นามสกุลเดิม ศาลิคุปต์) ในจำนวนพี่น้องทั้งสิ้น 3 คน ชีวิตส่วนตัวสมรสกับคุณหญิงทิพยวดี ปราโมช ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม มาลากุล ณ อยุธยา บุตรสาวหม่อมหลวงปีกทิพย์ มาลากุล) ในปี พ.ศ. 2507 มีบุตรทั้งหมด 3 คน ซึ่งบุตรชายคนกลางเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักดี คือ อชิตะ ปราโมช ณ อยุธยา เป็นนักร้อง นักดนตรีในสังกัดแกรมมี่[1] และมีบุตรชายอีกคนหนึ่งที่มิได้เกิดจากคุณหญิงทิพยวดี คือ คำรณ ปราโมช ณ อยุธยา ผู้ก่อตั้งและบรรณาธิการนิตยสารอิมเมจ [2]

เริ่มต้นการศึกษาที่ประเทศสหรัฐอเมริกาเนื่องจากตามบิดา คือ ม.ร.ว.เสนีย์ ไปอาศัยอยู่ที่นั่น เนื่องจาก ม.ร.ว.เสนีย์ได้รับการแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตผู้มีอำนาจเต็ม ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สองยุติลง ได้เดินทางกลับประเทศไทยและจบการศึกษาระดับมัธยมจากโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย และเคยไปศึกษาต่อที่เมืองจีลอง ประเทศออสเตรเลีย สำเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษาทางด้านเศรษฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ และได้กลับมาทำงานเป็นประธานกรรมการฝ่ายอำนวยการธนาคารกรุงเทพพาณิชยการ

การเมือง

ในทางการเมืองเคยลงรับเลือกตั้งในจังหวัดนครปฐม สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ ตามคำเชื้อชวนของ นายสราวุธ นิยมทรัพย์ ส.ส.เขตพื้นที่ของพรรค ม.ล.เสรี ปราโมช ไม่ได้รับการเลือกตั้ง จากนั้นในปี พ.ศ. 2522 ม.ล.เสรี ปราโมช ได้ลงรับเลือกตั้งอีก ในเขตกรุงเทพมหานครในทีมเดียวกับ ศาสตราจารย์ (พิเศษ) มารุต บุนนาค ก็ปรากฏว่าไม่ได้รับการเลือกตั้งอีก จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2529 ม.ล.เสรี ปราโมช จึงได้รับการเลือกตั้ง โดยได้รับการเลือกตั้งในเขตพระนคร เขตสัมพันธวงศ์ เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตพญาไท และเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย

ซึ่งในระหว่างที่ ม.ร.ว.เสนีย์ ผู้เป็นบิดาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในระหว่างปี พ.ศ. 2518-พ.ศ. 2519 อยู่นั้น ม.ล.เสรี อยู่ในฐานะเลขานุการส่วนตัวนายกรัฐมนตรี เหมือนเช่น นายกล้าณรงค์ จันทิก แต่ทว่ามิได้ถูกแต่งตั้งให้เป็นเลขาธิการนายกรัฐมนตรีอย่างเป็นทางการ ทั้งที่เป็นบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถเต็มที่ เมื่อมีผู้ถามถึงในเรื่องนี้ ม.ร.ว.เสนีย์ เฉลยว่าเป็นเหตุผลของความเหมาะสม[3]

ดนตรี

ม.ล.เสรี ปราโมช นิยมการเล่นดนตรี โดยเฉพาะดนตรีสากลตามบิดา คือ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช และเคยเข้าร่วมเป็นสมาชิกวง อ.ส.วันศุกร์ เล่นดนตรีร่วมและถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวร่วมกับบิดา และน้องชาย ม.ล.อัศนี ปราโมช ด้วย [3]

อ้างอิง

  1. ประวัติ ทพยวดี ปราโมช ณ อยุธยา จากไทยรัฐ
  2. Kamron Pramoj na Ayudhya
  3. 3.0 3.1 หนังสือ ชีวลิขิต โดย หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช : กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2548 ISBN 9789749353509