ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปถัมภ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
เป็นอะไรกับตรงนี้ คอยแก่งแย่งกันเอาขึ้นเอาลง ทั้งที่ไม่ได้สื่ออันดับอะไรทั้งสิ้น
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
=== การสมัครเข้าเป็นนักศึกษา ===
=== การสมัครเข้าเป็นนักศึกษา ===
ผู้เป็นนักศึกษาในสำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภาต้องเป็น
ผู้เป็นนักศึกษาในสำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภาต้องเป็น
# ผู้สอบไล่ได้ปริญญาตรีทางนิติศาสตร์จาก[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] [[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]] [[มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช]] และ [[มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]]
# ผู้ที่ได้ศึกษาวิชานิติศาสตร์ในสถาบันอื่น ในหรือนอกประเทศไทย และสอบไล่ได้ตามมาตรฐานซึ่งคณะกรรมการอำนวยการอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา เทียบให้ไม่ต่ำกว่าวิทยฐานะดังกล่าว ใน (1) ซึ่งในทางปฏิบัติ คณะกรรมการอำนวยการอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา ได้เทียบระดับปริญญาตรีทางนิติศาสตร์ จากสถาบันการศึกษาที่ทบวงมหาวิทยาลัยได้รับรองมาตรฐานการศึกษาแล้ว
คณะกรรมการอำนวยการอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา อนุมัติสถาบันอุดมศึกษาที่สามารถสอบเนติบัณฑิตได้ ดังนี้<ref> [http://www.thaibar.thaigov.net/Service/stu_regis.htm รายชื่อสถาบันการศึกษาที่เนติบัณฑิตยสภารับรองในปัจจุบัน] </ref>


{{บน}}
(1) ผู้สอบไล่ได้ปริญญาตรีทางนิติศาสตร์จาก[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] [[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]] [[มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช]] และ [[มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]]


; กลุ่มมหาวิทยาลัยรัฐบาล
(2) ผู้ที่ได้ศึกษาวิชานิติศาสตร์ในสถาบันอื่น ในหรือนอกประเทศไทย และสอบไล่ได้ตามมาตรฐานซึ่งคณะกรรมการอำนวยการอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา เทียบให้ไม่ต่ำกว่าวิทยฐานะดังกล่าว ใน (1) ซึ่งในทางปฏิบัติ คณะกรรมการอำนวยการอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา ได้เทียบระดับปริญญาตรีทางนิติศาสตร์ จากสถาบันการศึกษาที่ทบวงมหาวิทยาลัยได้รับรองมาตรฐานการศึกษาแล้ว
<!-- ให้เรียงตามลำดับอักษรไทย เพื่อไม่ต้องแก่งแย่งชิงดีกัน และรายชื่อนี้ไม่ได้สื่อความดีเด่นอันใด -->
* [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
* [[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]]
* [[มหาวิทยาลัยขอนแก่น]]
* [[มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]]
* [[มหาวิทยาลัยทักษิณ]]
* [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]
* [[มหาวิทยาลัยนเรศวร]]
* [[มหาวิทยาลัยบูรพา]]
* [[มหาวิทยาลัยพะเยา]]
* [[มหาวิทยาลัยมหาสารคาม]]
* [[มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง]]
* [[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]]
* [[มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์]]
* [[มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช]]
* [[มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี]]

; กลุ่มมหาวิทยาลัยเอกชน
<!-- ให้เรียงตามลำดับอักษรไทย เพื่อไม่ต้องแก่งแย่งชิงดีกัน และรายชื่อนี้ไม่ได้สื่อความดีเด่นอันใด -->
* [[มหาวิทยาลัยกรุงเทพ]]
* [[มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี]]
* [[มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น]]
* [[มหาวิทยาลัยเกริก]]
* [[มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต]]
* [[มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา]]
* [[มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น]]
* [[มหาวิทยาลัยณิวัฒนา]]
* [[มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์]]
* [[มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่]]
* [[มหาวิทยาลัยปทุมธานี]]
* [[มหาวิทยาลัยพายัพ]]
* [[มหาวิทยาลัยภาคกลาง]]
* [[มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]]
* [[มหาวิทยาลัยโยนก]]
* [[มหาวิทยาลัยรังสิต]]
* [[มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]]
* [[มหาวิทยาลัยราชธานี]]
* [[มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล]]
* [[มหาวิทยาลัยศรีปทุม]]
* [[มหาวิทยาลัยสยาม]]
* [[มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย]]
* [[มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ]]
* [[มหาวิทยาลัยหาดใหญ่]]
* [[มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ]]
* [[มหาวิทยาลัยอีสาน]]
* [[มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย]]
* [[มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์]]


คณะกรรมการอำนวยการอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา อนุมัติสถาบันอุดมศึกษาที่สามารถสอบเนติบัณฑิตได้ ดังนี้<ref> [http://www.thaibar.thaigov.net/Service/stu_regis.htm รายชื่อสถาบันการศึกษาที่เนติบัณฑิตยสภารับรองในปัจจุบัน] </ref>
{{บน}}
* '''กลุ่มมหาวิทยาลัยรัฐบาล'''
** [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]
** [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
** [[มหาวิทยาลัยขอนแก่น]]
** [[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]]
** [[มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]]
** [[มหาวิทยาลัยทักษิณ]]
** [[มหาวิทยาลัยนเรศวร]]
** [[มหาวิทยาลัยบูรพา]]
** [[มหาวิทยาลัยพะเยา]]
** [[มหาวิทยาลัยมหาสารคาม]]
** [[มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง]]
** [[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]]
** [[มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์]]
** [[มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช]]
** [[มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี]]
* '''กลุ่มมหาวิทยาลัยเอกชน'''
** [[มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี]]
** [[มหาวิทยาลัยสยาม]]
** [[มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์]]
** [[มหาวิทยาลัยศรีปทุม]]
** [[มหาวิทยาลัยกรุงเทพ]]
** [[มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์]]
** [[มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล]]
** [[มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต]]
** [[มหาวิทยาลัยพายัพ]]
** [[มหาวิทยาลัยเกริก]]
** [[มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ]]
** [[มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น]]
** [[มหาวิทยาลัยภาคกลาง]]
** [[มหาวิทยาลัยราชธานี]]
** [[มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย]]
** [[มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]]
** [[มหาวิทยาลัยรังสิต]]
** [[มหาวิทยาลัยณิวัฒนา]]
** [[มหาวิทยาลัยโยนก]]
** [[มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย]]
** [[มหาวิทยาลัยหาดใหญ่]]
** [[มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]]
** [[มหาวิทยาลัยปทุมธานี]]
** [[มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา]]
** [[มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่]]
** [[มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ]]
** [[มหาวิทยาลัยอีสาน]]
** [[มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น]]
{{กลาง}}
{{กลาง}}
* '''กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฎ'''
** [[มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย]]
** [[มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา]]
** [[มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย]]
** [[มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์]]
** [[มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต]]
** [[มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม]]
** [[มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง]]
** [[มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร]]
** [[มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร]]
** [[มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์]]
** [[มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี]]
** [[มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช]]
** [[มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี]]
** [[มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี]]
** [[มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร]]
** [[มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ]]
** [[มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี]]
** [[มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี]]
** [[มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่]]
** [[มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์]]
** [[มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ]]
** [[มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี]]
** [[มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี]]
** [[มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด]]
** [[มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา]]
** [[มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม]]
** [[มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม]]
** [[มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี]]
** [[มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง]]
* '''กลุ่มวิทยาลัย'''
** [[วิทยาลัยศรีอีสาน (คณาสวัสดิ์)]]
** [[วิทยาลัยศรีโสภณ]]
** [[วิทยาลัยบัณฑิตพิษณุโลก]]
** [[วิทยาลัยเทคโนโลยีราชธานีอุดร]]
** [[วิทยาลัยทองสุข]]
** [[วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก]]
** [[วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยนเรศวร]]
** [[วิทยาลัยตาปี]]
** [[วิทยาลัยสันตพล อุดรธานี]]
** [[วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย]]
** [[วิทยาลัยนครราชสีมา]]
** [[วิทยาลัยเฉลิมกาญจนา วิทยาเขตศีรษะเกษ]]
** [[วิทยาลัยราชพฤกษ]]
** [[วิทยาลัยเฉลิมกาญจนา วิทยาเขตระยอง]]
* '''กลุ่มมหาวิทยาลัยต่างประเทศ'''
** [[University of Kent at Canterbury]]
** [[Melbourne University]]
** [[University of Oxford]]
** [[University of Bristol]]
** [[Michigan State University]]
** [[Durham University ]]
** [[Université de Tours]]
** [[University of Fulda]]
** [[The London School of Economics (LSE)]]
** [[Université Jean Moulin Lyon 3]]
** [[University of Hannover]]
** [[Pierre Mendes France University]]
** [[University College London]]
** [[McGill University]]
** [[University of Louisville]]
{{ล่าง}}


; กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฎ
ข้อมูล เนติบัณฑิตยสภา ณ วันที่ 2 พฤษภาคม 2555
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย]]
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา]]
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย]]
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์]]
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต]]
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม]]
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง]]
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร]]
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร]]
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์]]
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี]]
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช]]
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี]]
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี]]
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร]]
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ]]
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี]]
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี]]
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่]]
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์]]
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ]]
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี]]
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี]]
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด]]
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา]]
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม]]
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม]]
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี]]
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง]]

; กลุ่มวิทยาลัย
* [[วิทยาลัยศรีอีสาน (คณาสวัสดิ์)]]
* [[วิทยาลัยศรีโสภณ]]
* [[วิทยาลัยบัณฑิตพิษณุโลก]]
* [[วิทยาลัยเทคโนโลยีราชธานีอุดร]]
* [[วิทยาลัยทองสุข]]
* [[วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก]]
* [[วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยนเรศวร]]
* [[วิทยาลัยตาปี]]
* [[วิทยาลัยสันตพล อุดรธานี]]
* [[วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย]]
* [[วิทยาลัยนครราชสีมา]]
* [[วิทยาลัยเฉลิมกาญจนา วิทยาเขตศีรษะเกษ]]
* [[วิทยาลัยราชพฤกษ]]
* [[วิทยาลัยเฉลิมกาญจนา วิทยาเขตระยอง]]

; กลุ่มมหาวิทยาลัยต่างประเทศ
* [[University of Kent at Canterbury]]
* [[Melbourne University]]
* [[University of Oxford]]
* [[University of Bristol]]
* [[Michigan State University]]
* [[Durham University ]]
* [[Université de Tours]]
* [[University of Fulda]]
* [[The London School of Economics (LSE)]]
* [[Université Jean Moulin Lyon 3]]
* [[University of Hannover]]
* [[Pierre Mendes France University]]
* [[University College London]]
* [[McGill University]]
* [[University of Louisville]]

{{ล่าง}}


=== หลักสูตรการเรียนการสอน ===
=== หลักสูตรการเรียนการสอน ===

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:04, 16 พฤษภาคม 2556

เนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปภัมภ์ เป็นองค์การอิสระ ที่มีฐานะเป็นนิติบุคคล ตามพระราชบัญญัติเนติบัณฑิตยสภา พ.ศ. 2507 ซึ่งตราขึ้นโดยจอมพล ถนอม กิตติขจร โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็นสภานายกพิเศษ มีอำนาจหน้าที่ควบคุมกิจการทั้งปวงของสภา และยับยั้งมติของสภาด้วย กับทั้งมีประธานศาลฎีกา เป็นนายก ประธานศาลอุทธรณ์ เป็นอุปนายกคนที่ 1 และอัยการสูงสุด เป็นอุปนายกคนที่ 2

สภามีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการศึกษานิติศาสตร์ และการประกอบอาชีพทางกฎหมาย รวมทั้งจัดหาทุนเพื่อการนั้น ตลอดจนส่งเสริมความสามัคคีและผดุงเกียรติของสมาชิก

ประวัติ

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชดำริจัดตั้งเนติบัณฑิตยสภา เพื่อประสงค์บำรุงการศึกษาวิชากฎหมายทั้งการรักษาความประพฤติของทนายความ ให้ตั้งอยู่ในสัจธรรม ให้สาธารณชนได้อาศัยทนายความซึ่งมีความสามารถและสมควรที่จะเชื่อถือได้ดียิ่งขึ้น ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาอภัยราชา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และกรมหลวงสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ อธิบดีศาลฎีกา พิจารณาร่างข้อบังคับเนติบัณฑิตยสภา ทรงรับเนติบัณฑิตยสภาไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2457 และถือเป็น "วันกำเนิดเนติบัณฑิตยสภา"

สมาชิกภาพและสิทธิ

เนติบัณฑิตยสภามีสมาชิกประเภทต่างๆ ดังนี้

  • สามัญสมาชิก เป็นผู้ผ่านการอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา
  • วิสามัญสมาชิก
  • สมาชิกสมทบ
  • สมาชิกกิตติมศักดิ์

สมาชิกกิตติมศักดิ์ สามัญสมาชิกและวิสามัญสมาชิกสามารถสวมเสื้อครุยเนติบัณฑิตในการว่าความได้ หรือในโอกาสอันควร แต่ห้ามมิให้สวมในเวลาที่เป็นจำเลยในคดีอาญาหรือคดีล้มละลายหรือเวลาเป็นพยานในศาล[1]

สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา

เมื่อ พ.ศ. 2491 เนติบัณฑิตยสภาได้จัดตั้ง สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา มีหลักสูตรตามแบบอย่างของ "สภาการศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภาประเทศอังกฤษ" และต้องตามมติของ "เนติบัณฑิตยสภาสากล" ซึ่งได้มีมติในการประชุมใหญ่ครั้งที่ 2 ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2491 ว่า การจัดการศึกษาวิชากฎหมายนั้นจำเป็นต้องให้มีการศึกษาภาคปฏิบัติอย่างเพียงพอเสียก่อนที่จะอนุญาตเข้าปฏิบัติงานในวิชาชีพกฎหมาย

สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา เริ่มเปิดการสอนและศึกษาขึ้นเป็นครั้งแรก ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2491 ผู้ที่สอบไล่ได้ตามหลักสูตร และเนติบัณฑิตยสภาได้ยอมรับเข้าเป็นสามัญสมาชิกแล้ว ให้เป็นเนติบัณฑิต (Barrister-at-Law) เรียกว่า เนติบัณฑิตไทย ใช้อักษรย่อ น.บ.ท.

การสมัครเข้าเป็นนักศึกษา

ผู้เป็นนักศึกษาในสำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภาต้องเป็น

  1. ผู้สอบไล่ได้ปริญญาตรีทางนิติศาสตร์จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  2. ผู้ที่ได้ศึกษาวิชานิติศาสตร์ในสถาบันอื่น ในหรือนอกประเทศไทย และสอบไล่ได้ตามมาตรฐานซึ่งคณะกรรมการอำนวยการอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา เทียบให้ไม่ต่ำกว่าวิทยฐานะดังกล่าว ใน (1) ซึ่งในทางปฏิบัติ คณะกรรมการอำนวยการอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา ได้เทียบระดับปริญญาตรีทางนิติศาสตร์ จากสถาบันการศึกษาที่ทบวงมหาวิทยาลัยได้รับรองมาตรฐานการศึกษาแล้ว

คณะกรรมการอำนวยการอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา อนุมัติสถาบันอุดมศึกษาที่สามารถสอบเนติบัณฑิตได้ ดังนี้[2]

หลักสูตรการเรียนการสอน

  • ภาคเรียนที่หนึ่ง

กลุ่มวิชากฎหมายแพ่ง ได้แก่ วิชาทรัพย์-ที่ดิน, นิติกรรม-สัญญา, หนี้, ละเมิด, ซื้อขาย-เช่าทรัพย์-เช่าซื้อ, ยืม-ค้ำประกัน-จำนอง-จำนำ, ตัวแทน-ประกันภัย-ตั๋วเงิน-บัญชีเดินสะพัด, หุ้นส่วน-บริษัท, ครอบครัว, มรดก, กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา, กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ

การเรียนการสอนในกลุ่มวิชากฎหมายแพ่งนั้น จะใช้บทบัญญัติตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ทั้งหมด แต่ในส่วนของวิชาละเมิด ได้มีการนำหลักความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 มาประกอบการเรียนการสอนด้วย

กลุ่มวิชากฎหมายอาญา ได้แก่ วิชากฎหมายอาญา, กฎหมายแรงงานและวิธีพิจารณาคดีในศาลแรงงาน, รัฐธรรมนูญ, กฎหมายปกครอง, กฎหมายภาษีอากร

ในส่วนของกฎหมายอาญานั้น จะมีการแบ่งออกไปเป็น 3 วิชา ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59-106 1 วิชา, มาตรา 1-58 กับ 107-208 1 วิชา และ มาตรา 288-366 อีก 1 วิชา

  • ภาคเรียนที่สอง

กลุ่มวิชากฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ได้แก่ กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง, กฎหมายล้มละลายและการฟื้นฟูกิจการ, ระบบศาลและพระธรรมนูญศาลยุติธรรม

กลุ่มวิชากฎหมายวิธิพิจารณาอาญา ได้แก่ กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา, สิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรม, กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน, วิชาว่าความและการถามพยาน, การจัดทำเอกสารทางกฎหมาย

การจบหลักสูตร

ผู้ที่จะถือว่าจบหลักสูตรเป็นเนติบัณฑิตได้นั้น จะต้องสอบผ่านการสอบข้อเขียนทั้งสองภาค โดยในการสอบแต่ละภาคจะต้องได้คะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 ขึ้นไป และผ่านการสอบปากเปล่า ผู้ที่สามารถสอบผ่านภาคหนึ่งภาคใดได้ ไม่ต้องสอบข้อเขียนของภาคนั้นอีก แม้ว่าจะสอบข้อเขียนอีกภาคหนึ่งตก เมื่อสอบได้ทั้งสองภาคจึงมีสิทธิสอบปากเปล่า

การสอบปากเปล่า กรรมการผู้สอบจะวินิจฉัยเพียงว่า "สอบได้" หรือ "สอบตก" เท่านั้น ถ้าผู้สอบปากเปล่าผู้ใดสอบตก ผู้นั้นมีสิทธิเข้าสอบปากเปล่ากับคณะกรรมการซึ่งตั้งขึ้นเพื่อการนั้นในวันเดียวกันอีกครั้งหนึ่ง ถ้าผู้สอบปากเปล่าตกในการเรียนสมัยใด (หรือปีใด) ผู้นั้นมีสิทธิสอบแก้ตัวอีกสามครั้ง หากยังสอบไม่ผ่านอีกเป็นครั้งที่สาม ให้ถือว่าการสอบข้อเขียนทั้งสองภาคที่ได้ไว้แล้วนั้นเป็นอันยกเลิก

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

อ้างอิง