ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาหมอ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Deepak885 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Taxobox
{{Taxobox
| name = ปลาหมอ
| name = ปลาหมอ

| image =
| image = Anabas testudineus - കല്ലട - 1.JPG
| image_caption = ปลาหมอ

| image2 = AnabasLyd.jpg
| image2_caption = [[ภาพวาด]]ปลาหมอกำลัง "แถกเหงือก"
| regnum = [[Animal]]ia
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Chordate|Chordata]]
| phylum = [[Chordate|Chordata]]
บรรทัด 19: บรรทัด 18:


'''ปลาหมอ''' ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Anabas testudineus'' ใน[[วงศ์ปลาหมอ]] (Anabantidae) มีรูปร่างป้อม ลำตัวแบนข้าง ตาโต ปากกว้าง ขอบฝาปิดเหงือกหยักแข็ง เกล็ดใหญ่คลุมทั้งลำตัว มีขอบเกล็ดแบบหยัก ผิวสาก เส้นข้างลำตัวขาดตอน ครีบหลังยาวเกือบเท่าความยาวลำตัว มีก้านครีบแข็งแหลมคมจำนวนมากเช่นเดียวกับครีบก้น แต่ครีบก้นสั้นกว่า ครีบอกเล็กเป็น[[ทรงรี|รูปไข่]] ครีบหางปลายมน ตัวมี[[สีเขียว]]มะกอกและมีลายประสีคล้ำที่ข้างลำตัว ครีบใส ลำตัวด้านท้องมี[[สีเหลือง]] ขอบฝาปิดเหงือกตอนบนมีแต้มสีคล้ำ มีอวัยวะช่วยหายใจเป็นแผ่นริ้วย่น ๆ อยู่ตอนบนของของช่องเหงือก จึงสามารถฮุบ[[อากาศ]]จากบนผิวน้ำได้โดยตรงโดยไม่ต้องรอให้[[ออกซิเจน]]ละลายในน้ำ และสามารถอยู่บนบกหรือพื้นที่ขาดน้ำได้เป็นระยะเวลานาน ๆ ซึ่งใน[[ฤดูฝน]]บางครั้งจะพบปลาหมอแถกเหงือกไถลคืบคลานไปบนบกเพื่อหาที่อยู่ใหม่ได้ ด้วยความสามารถอันนี้ใน[[ภาษาอังกฤษ]]จึงเรียกปลาชนิดนี้ว่า "Climbing perch" หรือ "Climbing gourami"
'''ปลาหมอ''' ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Anabas testudineus'' ใน[[วงศ์ปลาหมอ]] (Anabantidae) มีรูปร่างป้อม ลำตัวแบนข้าง ตาโต ปากกว้าง ขอบฝาปิดเหงือกหยักแข็ง เกล็ดใหญ่คลุมทั้งลำตัว มีขอบเกล็ดแบบหยัก ผิวสาก เส้นข้างลำตัวขาดตอน ครีบหลังยาวเกือบเท่าความยาวลำตัว มีก้านครีบแข็งแหลมคมจำนวนมากเช่นเดียวกับครีบก้น แต่ครีบก้นสั้นกว่า ครีบอกเล็กเป็น[[ทรงรี|รูปไข่]] ครีบหางปลายมน ตัวมี[[สีเขียว]]มะกอกและมีลายประสีคล้ำที่ข้างลำตัว ครีบใส ลำตัวด้านท้องมี[[สีเหลือง]] ขอบฝาปิดเหงือกตอนบนมีแต้มสีคล้ำ มีอวัยวะช่วยหายใจเป็นแผ่นริ้วย่น ๆ อยู่ตอนบนของของช่องเหงือก จึงสามารถฮุบ[[อากาศ]]จากบนผิวน้ำได้โดยตรงโดยไม่ต้องรอให้[[ออกซิเจน]]ละลายในน้ำ และสามารถอยู่บนบกหรือพื้นที่ขาดน้ำได้เป็นระยะเวลานาน ๆ ซึ่งใน[[ฤดูฝน]]บางครั้งจะพบปลาหมอแถกเหงือกไถลคืบคลานไปบนบกเพื่อหาที่อยู่ใหม่ได้ ด้วยความสามารถอันนี้ใน[[ภาษาอังกฤษ]]จึงเรียกปลาชนิดนี้ว่า "Climbing perch" หรือ "Climbing gourami"
[[ภาพ:Anabas testudineus - കല്ലട - 2.JPG|thumb|200px|left|ปลาหมอกำลังแถกเหงือกบนบก]]

ความยาวยาวประมาณ 10-13 [[เซนติเมตร]] ใหญ่สุดพบถึง 20 เซนติเมตร มีพฤติกรรมการวางไข่โดยตัวผู้และตัวเมียช่วยกันปรับที่วางไข่ โดยวางไข่ลอยเป็นแพ แต่จะปล่อยให้ลูกปลาเติบโตขึ้นมาเอง
ความยาวยาวประมาณ 10-13 [[เซนติเมตร]] ใหญ่สุดพบถึง 20 เซนติเมตร มีพฤติกรรมการวางไข่โดยตัวผู้และตัวเมียช่วยกันปรับที่วางไข่ โดยวางไข่ลอยเป็นแพ แต่จะปล่อยให้ลูกปลาเติบโตขึ้นมาเอง


ปลาหมอเป็นปลาที่สามารถพบได้ในทุกแหล่งน้ำ กระจายอยู่ทั่วไปใน[[ทวีปเอเชีย]] สำหรับใน[[ประเทศไทย]]พบทุกภาค และเป็นปลาที่[[คนไทย]]รู้จักกันเป็นอย่างดี ด้วยใช้เป็นอาหารมาช้านาน และมีความเชื่อว่าหากปล่อยปลาหมอจะทำให้ไม่เป็นโรคหรือหายจะโรคได้ ด้วยชื่อที่มีความหมายถึงหมอหรือ[[แพทย์]]ผู้รักษาโรค และนิยมเลี้ยงเป็นปลาเศรษฐกิจในปัจจุบัน อีกทั้งในปลาที่มีสีกลายไปจากสีปกติ เช่น [[สีทอง]]ยังนิยมเลี้ยงเป็น[[ปลาสวยงาม]] ที่มีราคาขายแพงอีกด้วย
ปลาหมอเป็นปลาที่สามารถพบได้ในทุกแหล่งน้ำ กระจายอยู่ทั่วไปใน[[ทวีปเอเชีย]] สำหรับใน[[ประเทศไทย]]พบทุกภาค และเป็นปลาที่[[คนไทย]]รู้จักกันเป็นอย่างดี ด้วยใช้เป็นอาหารมาช้านาน และมีความเชื่อว่าหากปล่อยปลาหมอจะทำให้ไม่เป็นโรคหรือหายจะโรคได้ ด้วยชื่อที่มีความหมายถึงหมอหรือ[[แพทย์]]ผู้รักษาโรค และนิยมเลี้ยงเป็นปลาเศรษฐกิจในปัจจุบัน อีกทั้งในปลาที่มีสีกลายไปจากสีปกติ เช่น [[สีทอง]]ยังนิยมเลี้ยงเป็น[[ปลาสวยงาม]] ที่มีราคาขายแพงอีกด้วย


มีชื่อเรียกอื่น ๆ เช่น ปลาหมอไทย, ปลาเข็งหรือสะเด็ดใน[[ภาษาอีสาน]] เป็นต้น
มีชื่อเรียกอื่น ๆ เช่น "ปลาหมอไทย", "ปลาเข็ง" หรือ "ปลาสะเด็ด" ใน[[ภาษาอีสาน]] เป็นต้น


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
*[http://kasetonline.com/2009/02/23/%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A1/ ปลาหมอไทยในบ่อเลี้ยงไม่ยาก ราคาดี]
*[http://kasetonline.com/2009/02/23/%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A1/ ปลาหมอไทยในบ่อเลี้ยงไม่ยาก ราคาดี]
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Anabas testudineus}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Anabas testudineus|ปลาหมอ}}
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.fishbase.org/Summary/speciesSummary.php?id=495&lang=thai รูปและข้อมูลปลาหมอ]
* [http://www.fishbase.org/Summary/speciesSummary.php?id=495&lang=thai รูปและข้อมูลปลาหมอ]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:32, 15 พฤษภาคม 2556

ปลาหมอ
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Actinopterygii
อันดับ: Perciformes
อันดับย่อย: Anabantoidei
วงศ์: Anabantidae
สกุล: Anabas
สปีชีส์: A.  testudineus
ชื่อทวินาม
Anabas testudineus
(Bloch, 1792)
ชื่อพ้อง
  • Anabas scandens (Daldorff, 1797)

ปลาหมอ ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Anabas testudineus ในวงศ์ปลาหมอ (Anabantidae) มีรูปร่างป้อม ลำตัวแบนข้าง ตาโต ปากกว้าง ขอบฝาปิดเหงือกหยักแข็ง เกล็ดใหญ่คลุมทั้งลำตัว มีขอบเกล็ดแบบหยัก ผิวสาก เส้นข้างลำตัวขาดตอน ครีบหลังยาวเกือบเท่าความยาวลำตัว มีก้านครีบแข็งแหลมคมจำนวนมากเช่นเดียวกับครีบก้น แต่ครีบก้นสั้นกว่า ครีบอกเล็กเป็นรูปไข่ ครีบหางปลายมน ตัวมีสีเขียวมะกอกและมีลายประสีคล้ำที่ข้างลำตัว ครีบใส ลำตัวด้านท้องมีสีเหลือง ขอบฝาปิดเหงือกตอนบนมีแต้มสีคล้ำ มีอวัยวะช่วยหายใจเป็นแผ่นริ้วย่น ๆ อยู่ตอนบนของของช่องเหงือก จึงสามารถฮุบอากาศจากบนผิวน้ำได้โดยตรงโดยไม่ต้องรอให้ออกซิเจนละลายในน้ำ และสามารถอยู่บนบกหรือพื้นที่ขาดน้ำได้เป็นระยะเวลานาน ๆ ซึ่งในฤดูฝนบางครั้งจะพบปลาหมอแถกเหงือกไถลคืบคลานไปบนบกเพื่อหาที่อยู่ใหม่ได้ ด้วยความสามารถอันนี้ในภาษาอังกฤษจึงเรียกปลาชนิดนี้ว่า "Climbing perch" หรือ "Climbing gourami"

ปลาหมอกำลังแถกเหงือกบนบก

ความยาวยาวประมาณ 10-13 เซนติเมตร ใหญ่สุดพบถึง 20 เซนติเมตร มีพฤติกรรมการวางไข่โดยตัวผู้และตัวเมียช่วยกันปรับที่วางไข่ โดยวางไข่ลอยเป็นแพ แต่จะปล่อยให้ลูกปลาเติบโตขึ้นมาเอง

ปลาหมอเป็นปลาที่สามารถพบได้ในทุกแหล่งน้ำ กระจายอยู่ทั่วไปในทวีปเอเชีย สำหรับในประเทศไทยพบทุกภาค และเป็นปลาที่คนไทยรู้จักกันเป็นอย่างดี ด้วยใช้เป็นอาหารมาช้านาน และมีความเชื่อว่าหากปล่อยปลาหมอจะทำให้ไม่เป็นโรคหรือหายจะโรคได้ ด้วยชื่อที่มีความหมายถึงหมอหรือแพทย์ผู้รักษาโรค และนิยมเลี้ยงเป็นปลาเศรษฐกิจในปัจจุบัน อีกทั้งในปลาที่มีสีกลายไปจากสีปกติ เช่น สีทองยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ที่มีราคาขายแพงอีกด้วย

มีชื่อเรียกอื่น ๆ เช่น "ปลาหมอไทย", "ปลาเข็ง" หรือ "ปลาสะเด็ด" ในภาษาอีสาน เป็นต้น

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น