ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาชญากรรมต่อมนุษยชาติ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 7: บรรทัด 7:


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{commonscat|Crimes agianst humanity}}
* [http://www.crimesofwar.org/thebook/crimes-against-humanity.html Crimes of War project]
* [http://www.adh-geneva.ch/RULAC Rule of Law in Armed Conflicts Project]
* [http://www.pinkyshow.org/archives/episodes/061211/061211_crimehumanity.html ''What is a Crime Against Humanity?''] - an online video.
* [http://netnebraska.org/extras/humanrights/02gen/0200/0200_01.htm Genocide & Crimes Against Humanity] - a learning resource, highlighting the cases of Myanmar, Bosnia, the DRC, and Darfur

{{ศาลอาญาระหว่างประเทศ}}
{{ศาลอาญาระหว่างประเทศ}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:50, 14 พฤษภาคม 2556

อาชญากรรมต่อมนุษยชาติ (อังกฤษ: crime against humanity) ว่ากันตามนิติศาสตร์ฝ่ายกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมืองแล้ว ได้แก่ การกระทำอันเป็นการบีฑาหรือโดยความป่าเถื่อนซึ่งสร้างความเสียหายให้แก่ร่างกายของมวลชน กับทั้งยังเป็นความผิดอาญาขั้นอุกฤษฎ์ในบรรดาความผิดอาญาทั้งปวงด้วย[1]

บันทึกหลักการและเหตุผลประกอบร่างธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ ชี้แจงว่า "อาชญากรรมต่อมนุษยชาติเป็นอาชญากรรมน่าสมเพชยิ่ง ด้วยว่าสร้างความเสียหายอย่างร้ายแรงให้แก่ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ทำให้เกิดความรู้สึกอัปยศอดสูอย่างร้ายกาจ หรือทำให้ความเป็นมนุษย์ของบุคคลหนึ่งหรือหลายคนต้องเสื่อมถอยลง อาชญากรรมนี้มิได้เกิดขึ้นเฉพาะตัวหรืออย่างกระจัดกระจาย แต่เป็นผลหนึ่งจากนโยบายของรัฐ (ซึ่งถึงแม้ว่าผู้กระทำความผิดไม่จำเป็นต้องระบุว่าตนเกี่ยวข้องกับนโยบายนั้นอย่างไร) หรือการกระทำอันป่าเถื่อนซึ่งรัฐผู้มีอำนาจในทางพฤตินัยยอมรับหรือไม่เอาโทษ อย่างไรก็ดี การฆ่าคน การกำจัด การทรมาน การข่มขืน การบีฑาทางการเมือง ชาติพันธุ์ หรือศาสนา ตลอดจนการกระทำอย่างอื่นอันมีลักษณะเยี่ยงเดรัจฉาน จะเข้าข่ายเป็นอาชญากรรมต่อมนุษยชาติได้เมื่อการเช่นว่านั้นเกิดขึ้นเป็นวงกว้าง การกระทำเช่นว่าแม้จะเกิดขึ้นเฉพาะตัวแต่ก็อาจเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนได้ ขึ้นอยู่กับสถานการณ์"[2]

อ้างอิง

  1. Cherif Bassiouni. "Crimes Against Humanity". สืบค้นเมื่อ 2006-07-23.
  2. As quoted by Guy Horton in Dying Alive - A Legal Assessment of Human Rights Violations in Burma April 2005, co-Funded by The Netherlands Ministry for Development Co-Operation. See section "12.52 Crimes against humanity", Page 201. He references RSICC/C, Vol. 1 p. 360

แหล่งข้อมูลอื่น