ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าพระยายมราช (ครุฑ)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่คำผ่านการค้นหา: 'จุดกำเหนิด'→'จุดกำเนิด'
บรรทัด 45: บรรทัด 45:
== ผลงานขณะดำรงตำแหน่งเสนาบดีกรมเวียง ==
== ผลงานขณะดำรงตำแหน่งเสนาบดีกรมเวียง ==
* วันศุกร์ ที่ [[17 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2397]] เข้าดำรงตำแหน่งเสนาบดีกรมเวียง คือ [[กระทรวงมหาดไทย]] และ [[กระทรวงยุติธรรม]] ในปัจจุบัน
* วันศุกร์ ที่ [[17 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2397]] เข้าดำรงตำแหน่งเสนาบดีกรมเวียง คือ [[กระทรวงมหาดไทย]] และ [[กระทรวงยุติธรรม]] ในปัจจุบัน
* วันพุธ ที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2400 [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ ให้เป็นแม่กอง ทำถนนใหม่และซ่อมแซมถนนที่ชำรุดในพระนครทุกสาย<ref>พระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัว รัชกาลที่ 4</ref> (สมันนั้นคือ ถนนรอบ[[พระบรมมหาราชวัง]] [[วัดพระแก้ว]])เพื่อเป็นสาธารณะกุศล เป็นประโยชน์แก่คนทั่วไป<ref>ภาพเก่าในสยาม : 66</ref> ถือว่าเป็นจุดกำเหนิดการคมนาคมทางบกครั้งแรก แห่ง[[กรุงรัตนโกสินทร์]] และเป็น[[กระทรวงคมนาคม]] ในปัจจุบัน
* วันพุธ ที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2400 [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ ให้เป็นแม่กอง ทำถนนใหม่และซ่อมแซมถนนที่ชำรุดในพระนครทุกสาย<ref>พระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัว รัชกาลที่ 4</ref> (สมันนั้นคือ ถนนรอบ[[พระบรมมหาราชวัง]] [[วัดพระแก้ว]])เพื่อเป็นสาธารณะกุศล เป็นประโยชน์แก่คนทั่วไป<ref>ภาพเก่าในสยาม : 66</ref> ถือว่าเป็นจุดกำเนิดการคมนาคมทางบกครั้งแรก แห่ง[[กรุงรัตนโกสินทร์]] และเป็น[[กระทรวงคมนาคม]] ในปัจจุบัน
* ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2404 [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ ได้ตั้งกองโปลิศ หรือกรมกองตระเวน (ตำรวจนครบาล)<ref>นายพันตำรวจโท ฟอร์ตี (C.H. Forty) : A Sketch of Siam's Gendarmerie</ref> ขึ้นเป็นครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2405 ได้ว่าจ้าง กัปตัน เอส. เย. เบิร์ดเอมส์ (Captain Sammoal Joseph Bird Ames) ชาว[[อังกฤษ]] ซึ่งได้รับบรรดาศักดิ์เป็น หลวงรัฐยาภิบาลบัญชา มาเป็นผู้พิจารณาวางโครงการจัดตั้งกองตำรวจ เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยภายในเขตนครหลวงตามแบบอย่าง[[ยุโรป]]ขึ้นเป็นครั้งแรก และเป็น [[สำนักงานตำรวจแห่งชาติ]] ในปัจจุบัน
* ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2404 [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ ได้ตั้งกองโปลิศ หรือกรมกองตระเวน (ตำรวจนครบาล)<ref>นายพันตำรวจโท ฟอร์ตี (C.H. Forty) : A Sketch of Siam's Gendarmerie</ref> ขึ้นเป็นครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2405 ได้ว่าจ้าง กัปตัน เอส. เย. เบิร์ดเอมส์ (Captain Sammoal Joseph Bird Ames) ชาว[[อังกฤษ]] ซึ่งได้รับบรรดาศักดิ์เป็น หลวงรัฐยาภิบาลบัญชา มาเป็นผู้พิจารณาวางโครงการจัดตั้งกองตำรวจ เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยภายในเขตนครหลวงตามแบบอย่าง[[ยุโรป]]ขึ้นเป็นครั้งแรก และเป็น [[สำนักงานตำรวจแห่งชาติ]] ในปัจจุบัน
* ในปี พ.ศ. 2405-2407 [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดเกล้าฯ เป็นแม่กอง<ref>ย่ำถนนยลถิ่นจีน : 11</ref> รับผิดชอบการก่อสร้างถนนเจริญกรุงตอนใน<ref>วารสาร "นครบาลวันนี้" , พ.ต.ท.ยอดชาย ผู้สันติ รอง ผกก.2 บก.จร.</ref> คือช่วงระยะทางตั้งแต่[[วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม]]ถึงสะพานดำรงสถิต (สะพานเหล็ก) กว้าง 4 วา โดยสร้างเป็นถนนดินอัด เอาอิฐเรียงตะแคงปูให้ชิดกัน ตรงกลางนูนสูง เป็นถนนสายแรกของประเทศไทยที่ขยายออกนอกพระนคร
* ในปี พ.ศ. 2405-2407 [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดเกล้าฯ เป็นแม่กอง<ref>ย่ำถนนยลถิ่นจีน : 11</ref> รับผิดชอบการก่อสร้างถนนเจริญกรุงตอนใน<ref>วารสาร "นครบาลวันนี้" , พ.ต.ท.ยอดชาย ผู้สันติ รอง ผกก.2 บก.จร.</ref> คือช่วงระยะทางตั้งแต่[[วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม]]ถึงสะพานดำรงสถิต (สะพานเหล็ก) กว้าง 4 วา โดยสร้างเป็นถนนดินอัด เอาอิฐเรียงตะแคงปูให้ชิดกัน ตรงกลางนูนสูง เป็นถนนสายแรกของประเทศไทยที่ขยายออกนอกพระนคร

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:01, 13 พฤษภาคม 2556

เจ้าพระยายมราช (ครุฑ บ่วงราบ)
เสนาบดีกรมเวียง
ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ดำรงตำแหน่ง
17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2397 – พ.ศ. 2411
เจ้าเมืองชุมพร
ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
ดำรงตำแหน่ง
พ.ศ. 2369 – 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2397
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด20 เมษายน พ.ศ. 2351[1]
วันพุธ เดือน 5 แรม 10 ค่ำ ปีมะโรง
เสียชีวิต- พ.ศ. 2437
ศาสนาพุทธ

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยายมราช (ครุฑ บ่วงราบ) อดีต เสนาบดีกรมเวียง ที่ 3 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 และอดีตเจ้าเมืองชุมพร ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ทั้งยังเป็นผู้ควบคุมการก่อสร้าง ถนนรอบพระบรมมหาราชวัง[2] (วัดพระแก้ว) ถนนเจริญกรุงตอนใน[3] สร้างตึกแถวขึ้นสองฝั่งถนนถวายแก่พระราชโอรสธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นตึกชั้นเดียว ถ่ายแบบมาจากประเทศสิงคโปร์[4] สร้างวัดสุบรรณนิมิตร และเป็น คณะข้าหลวงปักปันเขตแดนไทย-พม่า จะเห็นว่าในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เริ่มมีการปฏิรูปและพัฒนาประเทศครั้งใหญ่ ให้เป็นแบบยุโรปในหลายด้านโดยการจ้างชาวต่างชาติเข้ามาจัดการรูปแบบโครงสร้างในแต่ละหน่วย เช่น ทหาร ตำรวจ ข้าราชการพลเรือน คมนาคม การเก็บภาษีเพื่อทำถนนในพระนคร เป็นต้น

ประวัติ

เจ้าพระยายมราช (ครุฑ บ่วงราบ) นามเดิม พระยาเพชรกำแหงสงคราม (ครุฑ) หรือ พระยาชุมพร (ครุธ) หรือ พระยาเพชร เจ้าเมืองชุมพร เป็นบุตร พระยาวิชิตภักดีศรีพิชัยสงคราม(มี) เจ้าเมืองไชยา มีปู่ชื่อ พระยาชุมพร (พวย) เจ้าเมืองชุมพร

ผลงานขณะดำรงตำแหน่งเจ้าเมืองชุมพร

ผลงานขณะดำรงตำแหน่งเสนาบดีกรมเวียง

รายนามนายกรัฐมนตรี ผู้ปกครองอาณานิคมสยามในเขตตะนาวศรี ภายใต้จักรวรรดิอังกฤษ

  • ลำดับ 1 หลวงปักษี (คลุ้ม บ่วงราบ) พ.ศ. 2411 - 2467
  • ลำดับ 2 นายคุ้ม บ่วงราบ หรือ สมพร พ.ศ. 2467 - 2489 ถูกนายแพ้ว อุ้ยนอง พร้อมพวกลูกน้องสังหาร ที่บ้านบ้องขอน
  • ลำดับ 3 นายแพ้ว อุ้ยนอง เสียชีวิตจากไข้มาเลเรีย
  • ลำดับ 4 นายชม นามวงศ์ หรือ พรานชม ถูกกองทัพพม่าโจมตีเข้าไทยทางด่านสิงขร
  • ลำดับ 5 นายชด ชมปุระ ถูกนายสร้วง ลอบสังหารกลางงานเลี้ยง
  • ลำดับ 6 นายหลง สักคุณี ก่อนปี พ.ศ. 2506 ถูกนายพันถอไซ ลอบสังหารที่บ้านนามะพร้าว
  • ลำดับ 7 นายสร้วง ประสมชิด พ.ศ. 2507 ถูกลูกน้องลอบสังหารที่บ้านเกิดในอำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร
  • ลำดับ 8 นายพันถอไซ เริ่มปกครอง พ.ศ. 2508 หัวหน้ากลุ่มกะเหรี่ยงเสรี ออกจากราชการตำรวจพม่าจัดตั้งใหม่ เข้าปกครองแต่คนไทยบางส่วนยังไม่กลับเข้าประเทศไทย
  • ลำดับ 9 นายบาเฮา บุตร นายพันถอไซ การปกครองสิ้นสุด พ.ศ. 2535

อาณานิคมสยามในเขตตะนาวศรี ในจักรวรรดิอังกฤษ[16] ได้รับเอกราชแล้ว เช่นเดียวกับประเทศมาเลเชีย ประเทศสิงคโปร์ แต่เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 จอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้ขอความร่วมมือตีย่างกุ้งกับกองทัพญี่ปุ่น ทำให้อังกฤษและพม่าไม่พอใจ ในปี พ.ศ. 2492 รัฐบาลพม่าได้ระดมกำลังทหารเข้ายึดและปกครองเมืองมะริด ทะวาย และตะนาวศรี ต่อมาได้มีการกวาดล้างชนกลุ่มน้อยจนทำให้กะเหรี่ยงเสรีต้องอยู่ตามแนวชายแดนไทย-พม่า ส่วนคนไทยต้องอพยพเข้าประเทศไทยตั้งแต่นั้นมา และผู้อพยพกลับหลังจาก พ.ศ. 2520 จะเป็นคนไทยไม่มีบัตรประชาชน หรือ ที่เรียกว่า ไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรี, เขตตะนาวศรี

อ้างอิง

  1. วิจารณ์ดวงชะตา 200 ดวง : 171
  2. ภาพเก่าในสยาม : 66
  3. ภาพเก่าในสยาม : 71
  4. ภาพเก่าในสยาม : 71
  5. จดหมายหลวงอุดมสมบัติ : 153
  6. ประวัติวัดสุบรรณนิมิตร
  7. มะลิวัลย์ พม่าเรียกมะลิยุน สมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพเรียกมะลิวัน
  8. จดหมายหลวงอุดมสมบัติ : 371
  9. พระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัว รัชกาลที่ 4
  10. ภาพเก่าในสยาม : 66
  11. นายพันตำรวจโท ฟอร์ตี (C.H. Forty) : A Sketch of Siam's Gendarmerie
  12. ย่ำถนนยลถิ่นจีน : 11
  13. วารสาร "นครบาลวันนี้" , พ.ต.ท.ยอดชาย ผู้สันติ รอง ผกก.2 บก.จร.
  14. Imperial Gazetteer of India 5:297
  15. Scott 1999: 115
  16. Imperial Gazetteer of India 5:297

แหล่งข้อมูล

แหล่งข้อมูลอื่น