ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าจันทรภาณุ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่คำผ่านการค้นหา: 'ทรงเป็นพระ'→'เป็นพระ'
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{สั้นมาก}}
{{สั้นมาก}}
'''พระเจ้าจันทรภาณุ''' ({{lang-en|King Chandra Banu}}) หรือ พระเจ้าศรีธรรมโศกราชองค์ที่ 2 ของ[[ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช]] ([[นครศรีธรรมราช]]) แห่งอาณาจักรตามพรลิงค์ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงเผยแผ่พระอานุภาพขจรไปยังแคว้นไกลที่สุด นั่นคือสามารถแผ่ไปถึงเกาะลังกา โดยการยกทัพไปตีถึง 2 ครั้งที่ยกทัพเรือเข้าโจมตีเกาะลังกา (ประเทศศรีลังกา ในปัจจุบัน) พระองค์ทรงยึดครองภาคเหนือของเกาะนี้ได้ (ค.ศ. 1235-1275)
'''พระเจ้าจันทรภาณุ''' ({{lang-en|King Chandra Banu}}) หรือ พระเจ้าศรีธรรมโศกราชองค์ที่ 2 ของ[[ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช]] ([[นครศรีธรรมราช]]) แห่งอาณาจักรตามพรลิงค์ เป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงเผยแผ่พระอานุภาพขจรไปยังแคว้นไกลที่สุด นั่นคือสามารถแผ่ไปถึงเกาะลังกา โดยการยกทัพไปตีถึง 2 ครั้งที่ยกทัพเรือเข้าโจมตีเกาะลังกา (ประเทศศรีลังกา ในปัจจุบัน) พระองค์ทรงยึดครองภาคเหนือของเกาะนี้ได้ (ค.ศ. 1235-1275)


พระเจ้าจันทรภาณุ ตามประวัติจากหลักฐานตำนานเมืองและตำนานพระธาตุทราบว่า พระเจ้าจันทรภาณุ เป็นพระอนุชาของพระเจ้าศรีธรรมาโศกราช (องค์ที่ 1 แห่งราชวงศ์ศรีธรรมโศกราช หรือราชวงศ์ปทุมวงศ์) มีใจความว่า "ท้าวศรีธรรมาโศกราชก็ตั้งอารามก่อพระเจดีย์ ปลูกพระศรีมหาโพธิรายทางมาจนถึงเมืองนคร ตั้งแต่นั้นทั้งสองภาราได้แต่งบรรณาการตอบแทนกันมิได้ขาดปี เมื่อพระญานครศรีธรรมาโศกราชถึงแก่กรรม เมื่อศักราช 1200 ปี พระญาจันทรภาณุ เป็นเจ้าเมือง พระญาพงษาสุราเป็นพระญาจันทรภาณุ ตั้งฝ่ายทักษิณพระมหาธาตุเป็นเมืองพระเวียง" พระเจ้าจันทรภาณุ นับเป็นพระมหากษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่พระองค์หนึ่งในราชวงค์ศรีธรรมาโศกราช มีข้อความปรากฎอยู่ในศิลาจารึกตอนหนึ่งว่า "ศรีสวัสดิ พระเจ้าผู้ปกครองกรุงตามพรลิงค์ เป็นผู้อุปถัมภ์ตระกูลปทุมวงค์ พระหัตถ์ของพระองค์มีฤทธิ์มีอำนาจ ด้วยอนุภาพแห่งบุญกุศล ซึ่งพระองค์ได้กระทำแก่มนุษย์ทั้งปวง ทรงเดชานุภาพดุจพระอาทิตย์พระจันทร์และมีเกียรติอันเลื่องลือ ทรงพระนามจันทรภาณุศิริธรรมราช เมื่อกลียุค 4332" ศิลาจากรึกนี้ตรงกับ พ.ศ 1773
พระเจ้าจันทรภาณุ ตามประวัติจากหลักฐานตำนานเมืองและตำนานพระธาตุทราบว่า พระเจ้าจันทรภาณุ เป็นพระอนุชาของพระเจ้าศรีธรรมาโศกราช (องค์ที่ 1 แห่งราชวงศ์ศรีธรรมโศกราช หรือราชวงศ์ปทุมวงศ์) มีใจความว่า "ท้าวศรีธรรมาโศกราชก็ตั้งอารามก่อพระเจดีย์ ปลูกพระศรีมหาโพธิรายทางมาจนถึงเมืองนคร ตั้งแต่นั้นทั้งสองภาราได้แต่งบรรณาการตอบแทนกันมิได้ขาดปี เมื่อพระญานครศรีธรรมาโศกราชถึงแก่กรรม เมื่อศักราช 1200 ปี พระญาจันทรภาณุ เป็นเจ้าเมือง พระญาพงษาสุราเป็นพระญาจันทรภาณุ ตั้งฝ่ายทักษิณพระมหาธาตุเป็นเมืองพระเวียง" พระเจ้าจันทรภาณุ นับเป็นพระมหากษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่พระองค์หนึ่งในราชวงค์ศรีธรรมาโศกราช มีข้อความปรากฎอยู่ในศิลาจารึกตอนหนึ่งว่า "ศรีสวัสดิ พระเจ้าผู้ปกครองกรุงตามพรลิงค์ เป็นผู้อุปถัมภ์ตระกูลปทุมวงค์ พระหัตถ์ของพระองค์มีฤทธิ์มีอำนาจ ด้วยอนุภาพแห่งบุญกุศล ซึ่งพระองค์ได้กระทำแก่มนุษย์ทั้งปวง ทรงเดชานุภาพดุจพระอาทิตย์พระจันทร์และมีเกียรติอันเลื่องลือ ทรงพระนามจันทรภาณุศิริธรรมราช เมื่อกลียุค 4332" ศิลาจากรึกนี้ตรงกับ พ.ศ 1773

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:03, 3 พฤษภาคม 2556

พระเจ้าจันทรภาณุ (อังกฤษ: King Chandra Banu) หรือ พระเจ้าศรีธรรมโศกราชองค์ที่ 2 ของราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช (นครศรีธรรมราช) แห่งอาณาจักรตามพรลิงค์ เป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงเผยแผ่พระอานุภาพขจรไปยังแคว้นไกลที่สุด นั่นคือสามารถแผ่ไปถึงเกาะลังกา โดยการยกทัพไปตีถึง 2 ครั้งที่ยกทัพเรือเข้าโจมตีเกาะลังกา (ประเทศศรีลังกา ในปัจจุบัน) พระองค์ทรงยึดครองภาคเหนือของเกาะนี้ได้ (ค.ศ. 1235-1275)

พระเจ้าจันทรภาณุ ตามประวัติจากหลักฐานตำนานเมืองและตำนานพระธาตุทราบว่า พระเจ้าจันทรภาณุ เป็นพระอนุชาของพระเจ้าศรีธรรมาโศกราช (องค์ที่ 1 แห่งราชวงศ์ศรีธรรมโศกราช หรือราชวงศ์ปทุมวงศ์) มีใจความว่า "ท้าวศรีธรรมาโศกราชก็ตั้งอารามก่อพระเจดีย์ ปลูกพระศรีมหาโพธิรายทางมาจนถึงเมืองนคร ตั้งแต่นั้นทั้งสองภาราได้แต่งบรรณาการตอบแทนกันมิได้ขาดปี เมื่อพระญานครศรีธรรมาโศกราชถึงแก่กรรม เมื่อศักราช 1200 ปี พระญาจันทรภาณุ เป็นเจ้าเมือง พระญาพงษาสุราเป็นพระญาจันทรภาณุ ตั้งฝ่ายทักษิณพระมหาธาตุเป็นเมืองพระเวียง" พระเจ้าจันทรภาณุ นับเป็นพระมหากษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่พระองค์หนึ่งในราชวงค์ศรีธรรมาโศกราช มีข้อความปรากฎอยู่ในศิลาจารึกตอนหนึ่งว่า "ศรีสวัสดิ พระเจ้าผู้ปกครองกรุงตามพรลิงค์ เป็นผู้อุปถัมภ์ตระกูลปทุมวงค์ พระหัตถ์ของพระองค์มีฤทธิ์มีอำนาจ ด้วยอนุภาพแห่งบุญกุศล ซึ่งพระองค์ได้กระทำแก่มนุษย์ทั้งปวง ทรงเดชานุภาพดุจพระอาทิตย์พระจันทร์และมีเกียรติอันเลื่องลือ ทรงพระนามจันทรภาณุศิริธรรมราช เมื่อกลียุค 4332" ศิลาจากรึกนี้ตรงกับ พ.ศ 1773