ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซาไก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pawyilee (คุย | ส่วนร่วม)
Pawyilee (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 27: บรรทัด 27:


== อื่น ๆ ==
== อื่น ๆ ==
*[[พระสังข์ทอง]] คือเจ้าเงาะ

{{เผ่าในไทย}}
{{เผ่าในไทย}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:17, 29 เมษายน 2556

ซาไก (มาเลย์ : Orang Asli ; โอรังอัสลี) เป็นมนุษย์โบราณอาจจะที่มีมาตั้งแต่สมัยยุคหิน ประมาณ 1,500– 10,000 ปีมาแล้ว รูปร่างเตี้ยมีผิวดำ ฝีปากหนา ท้องป่อง น่องสั้นเรียว ผมหยิกเป็นก้นหอยติดศีรษะ ชาติพันธุ์นิกรอยด์ หรือเนกริโต ตระกูลออสโตร-เอเชียติก อยู่กระจายกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ราว 7-60 คน ในรัฐเกดะห์ มาเลเซีย ในส่วนลึกของนิวกินี ฟิลิปปินส์และหมู่เกาะอันดามัน เรียกตนเองว่า “มันนิ” (Mani) ส่วนผู้อื่นเรียกว่า เงาะ เงาะป่า ชาวป่า ซาแก หรือ โอรัง อัสลี (Orang Asli) หรือ กอย[1]

การแบ่งกลุ่มชาวซาไก

สำหรับในภาคใต้ของประเทศไทยมีซาไกอยู่สี่กลุ่มรวมประมาณ 200 คน คือ

ซาไกที่อาศัยอยู่ที่อำเภอธารโต จังหวัดยะลา ได้รับพระราชทานนามสกุลจากสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี โดยใช้ชื่อสกุลว่า "ศรีธารโต"[2] แต่ปัจจุบันซาไกธารโตส่วนใหญ่ได้อพยพไปอยู่ในมาเลเซีย ด้วยเหตุผลด้านที่ทำกินและวิถีชีวิตที่ดีกว่า ประกอบกับเหตุผลด้านความไม่สงบ[3]

การดำรงชีวิต

กลุ่มชนชาวซาไกกินเผือกมัน กล้วยป่า มะละกอ และสัตว์ป่า จับสัตว์น้ำด้วยมือเปล่าหรือเบ็ด พืชผักผลไม้

วัฒนธรรมสมัยนิยม

อ้างอิง

  1. กอย ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542
  2. หมูบ้านซาไก
  3. "รอวันปิดตำนาน 'ซาไก' แห่ง 'ศรีธารโต'" (Press release). สำนักข่าวอามาน. 3 มกราคม พ.ศ. 2553. สืบค้นเมื่อ 5 สิงหาคม 2555. {{cite press release}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)

อื่น ๆ