ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จกรมพระสีสุวัตถิ์ มุนีเรศ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 31: บรรทัด 31:
'''สมเด็จกรมพระสีสุวัตถิ์ มุนีเรศ''' (Sisowath Monireth) ประสูติเมื่อ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2452 เป็นนายกรัฐมนตรีของ[[กัมพูชา]]ระหว่างที่อยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศสระหว่าง 17 ตุลาคม พ.ศ. 2488 ถึง 15 ธันวาคม พ.ศ. 2489 พระองค์เป็นเชื้อพระวงศ์ในราชสกุลสีสุวัตถิ์ ที่มีสิทธิในการสืบราชบัลลังก์ต่อจาก[[พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์]] แต่ฝรั่งเศสเลือกนักองค์ราชวงศ์ [[นโรดม สีหนุ]]ให้ขึ้นครองราชย์สมบัติแทน
'''สมเด็จกรมพระสีสุวัตถิ์ มุนีเรศ''' (Sisowath Monireth) ประสูติเมื่อ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2452 เป็นนายกรัฐมนตรีของ[[กัมพูชา]]ระหว่างที่อยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศสระหว่าง 17 ตุลาคม พ.ศ. 2488 ถึง 15 ธันวาคม พ.ศ. 2489 พระองค์เป็นเชื้อพระวงศ์ในราชสกุลสีสุวัตถิ์ ที่มีสิทธิในการสืบราชบัลลังก์ต่อจาก[[พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์]] แต่ฝรั่งเศสเลือกนักองค์ราชวงศ์ [[นโรดม สีหนุ]]ให้ขึ้นครองราชย์สมบัติแทน


พระองค์เสด็จไปเรียนวิชาทหารที่ประเทศฝรั่งเศส และทรงอาสาเข้าร่วมรบกับกองทัพฝรั่งเศสใน[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] จนกระทั่ง[[เยอรมัน]]ยึด[[ฝรั่งเศส]]ได้ พระองค์จึงเดินทางกลับกัมพูชา <ref name="ธิบดี">ธิบดี บัวคำศรี. ประวัติศาสตร์กัมพูชา.พิมพ์ครั้งที่ 2. กทม. เมืองโบราณ. 2555</ref> กลุ่ม[[ลูกเสือ]]ระยะเริ่มต้นในกัมพูชาที่เรียกว่า "องค์การเขมรกายาฤทธิ์" ''({{lang-km|អង្គការខេមរកាយារិទ្ធិ}} - Ankar Khamarak Kayarith)'' ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2477 โดยสมเด็จกรมพระสีสุวัตถิ์ มุนีเรศ ทรงเป็นผู้นำควบคู่กับเตม อิม และปก เทียม ในช่วงแรกนี้ กิจการลูกเสือได้แพร่หลายไปยังหลายจังหวัด
พระองค์เสด็จไปเรียนวิชาทหารที่ประเทศฝรั่งเศส และทรงอาสาเข้าร่วมรบกับกองทัพฝรั่งเศสใน[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] จนกระทั่ง[[เยอรมัน]]ยึด[[ฝรั่งเศส]]ได้ พระองค์จึงเดินทางกลับกัมพูชา <ref name="ธิบดี">ธิบดี บัวคำศรี. ประวัติศาสตร์กัมพูชา.พิมพ์ครั้งที่ 2. กทม. เมืองโบราณ. 2555</ref> กลุ่ม[[ลูกเสือ]]ระยะเริ่มต้นในกัมพูชาที่เรียกว่า "องค์การเขมรกายาฤทธิ์" ({{lang-km|អង្គការខេមរកាយារិទ្ធិ}} ''Ankar Khamarak Kayarith'') ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2477 โดยสมเด็จกรมพระสีสุวัตถิ์ มุนีเรศ ทรงเป็นผู้นำควบคู่กับเตม อิม และปก เทียม ในช่วงแรกนี้ กิจการลูกเสือได้แพร่หลายไปยังหลายจังหวัด


เมื่อฝรั่งเศสกลับมายังกัมพูชาอีกครั้งเมื่อสงครามโลกสิ้นสุดลง พระองค์อยู่ในฝ่ายที่เห็นว่าควรจะยอมฝรั่งเศสโดยไม่ต้องต่อต้าน<ref name="ธิบดี"/> พระองค์ได้ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีและได้จัดตั้งกองทัพกัมพูชาตามแบบการทหารสมัยใหม่ ภายใต้ความยินยอมของฝรั่งเศสที่กลับเข้ามายึดครองกัมพูชาอีกครั้ง ต่อมาจึงเป็นกองกำลังผสมฝรั่งเศส-เขมรในวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2489<ref>http://lcweb2.loc.gov/cgi-bin/query/r?frd/cstdy:@field(DOCID+kh0160)</ref> พระองค์มีส่วนเกี่ยวข้องการเหตุการณ์รัฐประหารต่อต้านสถาบันกษัตริย์ใน พ.ศ. 2488 สมเด็จพระนโรดม สีหนุจึงขอให้พระองค์ลดบทบาททางการเมืองลง<ref name="ธิบดี"/> หลังจากพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พระองค์ได้เป็นประมุขรัฐในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ระหว่าง 6 เมษายน ถึง 13 มิถุนายน พ.ศ. 2503
เมื่อฝรั่งเศสกลับมายังกัมพูชาอีกครั้งเมื่อสงครามโลกสิ้นสุดลง พระองค์อยู่ในฝ่ายที่เห็นว่าควรจะยอมฝรั่งเศสโดยไม่ต้องต่อต้าน<ref name="ธิบดี"/> พระองค์ได้ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีและได้จัดตั้งกองทัพกัมพูชาตามแบบการทหารสมัยใหม่ ภายใต้ความยินยอมของฝรั่งเศสที่กลับเข้ามายึดครองกัมพูชาอีกครั้ง ต่อมาจึงเป็นกองกำลังผสมฝรั่งเศส-เขมรในวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2489<ref>http://lcweb2.loc.gov/cgi-bin/query/r?frd/cstdy:@field(DOCID+kh0160)</ref> พระองค์มีส่วนเกี่ยวข้องการเหตุการณ์รัฐประหารต่อต้านสถาบันกษัตริย์ใน พ.ศ. 2488 สมเด็จพระนโรดม สีหนุจึงขอให้พระองค์ลดบทบาททางการเมืองลง<ref name="ธิบดี"/> หลังจากพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พระองค์ได้เป็นประมุขรัฐในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ระหว่าง 6 เมษายน ถึง 13 มิถุนายน พ.ศ. 2503

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:29, 25 เมษายน 2556

สมเด็จกรมพระสีสุวัตถิ์ มุนีเรศ
ไฟล์:Sisowath Monireth.jpg
นายกรัฐมนตรีกัมพูชา
ดำรงตำแหน่ง
17 ตุลาคม พ.ศ. 2488 – 15 ธันวาคม พ.ศ. 2489
ก่อนหน้าเซิง งอก ทัญ
ถัดไปนักองค์มจะ สีสุวัตถิ์ ยุทธวงศ์
ประมุขรัฐกัมพูชา (ผู้สำเร็จราชการ)
ดำรงตำแหน่ง
6 เมษายน – 13 มิถุนายน พ.ศ. 2503
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2452
เสียชีวิตกันยายน พ.ศ. 2518
พนมเปญ

สมเด็จกรมพระสีสุวัตถิ์ มุนีเรศ (Sisowath Monireth) ประสูติเมื่อ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2452 เป็นนายกรัฐมนตรีของกัมพูชาระหว่างที่อยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศสระหว่าง 17 ตุลาคม พ.ศ. 2488 ถึง 15 ธันวาคม พ.ศ. 2489 พระองค์เป็นเชื้อพระวงศ์ในราชสกุลสีสุวัตถิ์ ที่มีสิทธิในการสืบราชบัลลังก์ต่อจากพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ แต่ฝรั่งเศสเลือกนักองค์ราชวงศ์ นโรดม สีหนุให้ขึ้นครองราชย์สมบัติแทน

พระองค์เสด็จไปเรียนวิชาทหารที่ประเทศฝรั่งเศส และทรงอาสาเข้าร่วมรบกับกองทัพฝรั่งเศสในสงครามโลกครั้งที่ 2 จนกระทั่งเยอรมันยึดฝรั่งเศสได้ พระองค์จึงเดินทางกลับกัมพูชา [1] กลุ่มลูกเสือระยะเริ่มต้นในกัมพูชาที่เรียกว่า "องค์การเขมรกายาฤทธิ์" (เขมร: អង្គការខេមរកាយារិទ្ធិ Ankar Khamarak Kayarith) ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2477 โดยสมเด็จกรมพระสีสุวัตถิ์ มุนีเรศ ทรงเป็นผู้นำควบคู่กับเตม อิม และปก เทียม ในช่วงแรกนี้ กิจการลูกเสือได้แพร่หลายไปยังหลายจังหวัด

เมื่อฝรั่งเศสกลับมายังกัมพูชาอีกครั้งเมื่อสงครามโลกสิ้นสุดลง พระองค์อยู่ในฝ่ายที่เห็นว่าควรจะยอมฝรั่งเศสโดยไม่ต้องต่อต้าน[1] พระองค์ได้ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีและได้จัดตั้งกองทัพกัมพูชาตามแบบการทหารสมัยใหม่ ภายใต้ความยินยอมของฝรั่งเศสที่กลับเข้ามายึดครองกัมพูชาอีกครั้ง ต่อมาจึงเป็นกองกำลังผสมฝรั่งเศส-เขมรในวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2489[2] พระองค์มีส่วนเกี่ยวข้องการเหตุการณ์รัฐประหารต่อต้านสถาบันกษัตริย์ใน พ.ศ. 2488 สมเด็จพระนโรดม สีหนุจึงขอให้พระองค์ลดบทบาททางการเมืองลง[1] หลังจากพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พระองค์ได้เป็นประมุขรัฐในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ระหว่าง 6 เมษายน ถึง 13 มิถุนายน พ.ศ. 2503

พระองค์เป็นที่ปรึกษาทางทหารให้แก่สมเด็จพระนโรดม สีหนุระหว่าง พ.ศ. 2506 - 2513 หลังรัฐประหาร ใน พ.ศ. 2513 พระองค์ถูกฝ่ายของลน นล คุมขังระหว่างเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม พ.ศ. 2516 ในเหตุการณ์พนมเปญแตกเมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2518 พระองค์เสด็จมาถึงสถานทูตฝรั่งเศสเพื่อขอลี้ภัยแต่ถูกปฏิเสธ[3] พระองค์ถูกเขมรแดงประหารชีวิตในเดือนกันยายน พ.ศ. 2518

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 ธิบดี บัวคำศรี. ประวัติศาสตร์กัมพูชา.พิมพ์ครั้งที่ 2. กทม. เมืองโบราณ. 2555
  2. http://lcweb2.loc.gov/cgi-bin/query/r?frd/cstdy:@field(DOCID+kh0160)
  3. (ฝรั่งเศส) Philippe Broussard, « Le jour où la France céda aux Khmers rouges », dans L'Express, 12 mai 2009 [1]