ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลูกปัดเบลี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Robosorne (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Robosorne (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ปรากฏการณ์ลูกปัดของเบรี่''' ({{lang-en|Baily's Beads}}) เกิดขึ้นหลังจากที่[[ดวงจันทร์]]เคลื่อนมาบัง[[ดวงอาทิตย์]]เกือบหมด หรือระหว่างที่กำลังบังกันสนิท จะเกิดแสงสว่างบริเวณขอบของดวงจันทร์ คล้ายสร้อยลูกปัด ซึ่งได้ชื่อจาก [[ฟรานซิส เบลีย์]] [[นักดาราศาสตร์]]ชาวอังกฤษ ผู้ซึ่งอธิบายได้ถึงปรากฏการณ์ดังกล่าว ว่าเกิดจากแสงของดวงอาทิตย์ที่ยังลอดผ่านช่องเขาที่อยู่ตามบริเวณขอบของดวงจันทร์
'''ปรากฏการณ์ลูกปัดของเบรี่''' ({{lang-en|Baily's Beads}}) เกิดขึ้นหลังจากที่[[ดวงจันทร์]]เคลื่อนมาบัง[[ดวงอาทิตย์]]เกือบหมด หรือระหว่างที่กำลังบังกันสนิท จะเกิดแสงสว่างบริเวณขอบของดวงจันทร์ คล้ายสร้อยลูกปัด ซึ่งได้ชื่อจาก [[ฟรานซิส เบลีย์]] [[นักดาราศาสตร์]]ชาวอังกฤษ ผู้ซึ่งอธิบายได้ถึงปรากฏการณ์ดังกล่าว ว่าเกิดจากแสงของดวงอาทิตย์ที่ยังลอดผ่านช่องเขาที่อยู่ตามบริเวณขอบของดวงจันทร์
[[ไฟล์:TheSun beads.jpg|thumb|right|250px|ปรากฏการณ์ลูกปัดของเบลีย์]]

== ปรากฏการณ์แหวนเพชร ==
== ปรากฏการณ์แหวนเพชร ==
[[ไฟล์:Бриллиантовое кольцо.jpg|thumb|right|250px|ปรากฏการณ์แหวนเพชร ]]
[[ไฟล์:Бриллиантовое кольцо.jpg|thumb|right|250px|ปรากฏการณ์แหวนเพชร ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:06, 8 เมษายน 2556

ปรากฏการณ์ลูกปัดของเบรี่ (อังกฤษ: Baily's Beads) เกิดขึ้นหลังจากที่ดวงจันทร์เคลื่อนมาบังดวงอาทิตย์เกือบหมด หรือระหว่างที่กำลังบังกันสนิท จะเกิดแสงสว่างบริเวณขอบของดวงจันทร์ คล้ายสร้อยลูกปัด ซึ่งได้ชื่อจาก ฟรานซิส เบลีย์ นักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษ ผู้ซึ่งอธิบายได้ถึงปรากฏการณ์ดังกล่าว ว่าเกิดจากแสงของดวงอาทิตย์ที่ยังลอดผ่านช่องเขาที่อยู่ตามบริเวณขอบของดวงจันทร์

ปรากฏการณ์ลูกปัดของเบลีย์

ปรากฏการณ์แหวนเพชร

ปรากฏการณ์แหวนเพชร

ปรากฏการณ์แหวนเพชร (อังกฤษ: Diamond ring effect) เกิดจากปรากฏการณ์สุริยุปราคา โดยมีพระจันทร์บังอยู่ก่อนหน้าดวงอาทิตย์ โดยการโคจรผ่านกันทำให้เกิดปรากฏการสุริยุปราคา โดยผู้ค้นพบ ได้แก่ Francis Baily โดยมีหลักฐานบันทึกในปี ค.ศ. 1836[1][2]

ลักษณะปรากฏการณ์

เป็น ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น ก่อนการบังกันสนิท และก่อนจะออกจากคราส ซึ่งจะเกิดแสงวาบจากดวงอาทิตย์เพียงช่วงเวลาสั้น ๆ เท่านั้น ลักษณะคล้ายแหวน [3]โดยทำให้เห็น โคโรน่า มีเพียงสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้นที่จะทำให้เราสามารถสังเกตเห็น ชั้นบรรยากาศโคโรน่าของดวงอาทิตย์ได้[4] โพรมิเน้นท์คือพวยก๊าซที่พุ่งออกมาจากผิวของดวงอาทิตย์ชั้นโฟโตสเซีย[5]

รายการอ้างอิง

  1. Baily, Francis. "On a remarkable phenomenon that occurs in total and annular eclipses of the sun". Monthly Notices of the Royal Astronomical Society, Vol. 4, p.15. Bibcode:1836MNRAS...4...15B.
  2. Littmann, Mark (1999). Totality - Eclipses of the Sun. Oxford University Press. pp. 65–66. ISBN 0-19-513179-7. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  3. http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/eclipse/index8.htm
  4. http://www.udontham.ac.th/index.php?option=com_content&view=article&id=75:2010-05-15-04-49-59&catid=34:2010-04-07-08-11-06&Itemid=13
  5. http://www.moohin.com/activity/star99.shtml

แหล่งข้อมูลอื่น