ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัทธิเซียนเทียนเต้า"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Xiantianism symbol yellow.PNG|thumb|200px|อักษร 母 ''หมู่'' หมายถึง ''''[[พระแม่องค์ธรรม]]'''' [[พระเป็นเจ้า]]ตามความเชื่อของลัทธิเซียนเทียนเต้าและอีก 5 ลัทธิที่แตกแขนงออกมา]]
[[ไฟล์:Xiantianism symbol yellow.PNG|thumb|200px|อักษร 母 ''หมู่'' หมายถึง ''''[[พระแม่องค์ธรรม]]'''' [[พระเป็นเจ้า]]ตามความเชื่อของลัทธิเซียนเทียนเต้าและอีก 5 ลัทธิที่แตกแขนงออกมา]]
'''ลัทธิเซียนเทียนเต้า''' ({{lang-zh|先天道}} ''Xiāntiān Dào'') เป็นลัทธิศาสนาหนึ่งที่[[หวงเต๋อฮุย]]ก่อตั้งขึ้นในสมัย[[ราชวงศ์ชิง]] โดยสืบความเชื่อมาจาก[[ลัทธิบัวขาว]]ในสมัย[[ราชวงศ์หยวน]] นอกจากนี้ยังรับคำสอนมาจากลัทธิหลัวด้วย ลัทธิเซียนเทียนเต้าเป็นต้นกำเนิดของอีก 5 ลัทธิที่แยกตัวออกมาภายหลัง ได้แก่ [[ลัทธิอนุตตรธรรม]] [[ลัทธิถงซั่นเซ่อ]] [[ลัทธิฉือฮุ่ยถัง]] [[ลัทธิเทียนเต๋อเซิ่ง]] และ[[ลัทธิเต้าเยวี่ยน]]<ref name="Hsien-T'ien Tao (Way of Former Heaven) Sects">[http://www.philtar.ac.uk/encyclopedia/china/hsien.html Hsien-T'ien Tao (Way of Former Heaven) Sects], Division of Religion and Philosophy, University of Cumbria, เรียกข้อมูลวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2556</ref>
'''ลัทธิเซียนเทียนเต้า''' ({{lang-zh|先天道}} ''Xiāntiān Dào'') เป็นลัทธิศาสนาหนึ่งที่[[หวง เต๋อฮุย]] ก่อตั้งขึ้นในสมัย[[ราชวงศ์ชิง]] โดยสืบความเชื่อมาจาก[[ลัทธิบัวขาว]]ในสมัย[[ราชวงศ์หยวน]] นอกจากนี้ยังรับคำสอนมาจาก[[ลัทธิหลัว]]ด้วย ลัทธิเซียนเทียนเต้าเป็นต้นกำเนิดของอีก 5 ลัทธิที่แยกตัวออกมาภายหลัง ได้แก่ [[ลัทธิอนุตตรธรรม]] [[ลัทธิถงซั่นเซ่อ]] [[ลัทธิฉือฮุ่ยถัง]] [[ลัทธิเทียนเต๋อเซิ่ง]] และ[[ลัทธิเต้าเยวี่ยน]]<ref name="Hsien-T'ien Tao (Way of Former Heaven) Sects">[http://www.philtar.ac.uk/encyclopedia/china/hsien.html Hsien-T'ien Tao (Way of Former Heaven) Sects], Division of Religion and Philosophy, University of Cumbria, เรียกข้อมูลวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2556</ref>


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
ในสมัย[[ราชวงศ์หยวน]]ได้เกิดลัทธิบัวขาวขึ้น ซึ่งนับถือ[[พระแม่องค์ธรรม]]คือ[[พระเป็นเจ้า]] ถือการกินเจ รอคอยการมาเกิดของ[[พระศรีอริยเมตไตรย]] และต่อต้านการปกครองกดขี่ของต่างชาติคือ[[ชาวมองโกล]]ในขณะนั้น ราชวงศ์หยวนจึงปราบปราบลัทธิบัวขาวอย่างหนักจนลัทธินี้กลายเป็นองค์กรใต้ดิน แต่ลัทธิยังคงแพร่หลายอยู่ต่อมา
ในสมัย[[ราชวงศ์หยวน]]ได้เกิด[[ลัทธิบัวขาว]]ขึ้น ซึ่งนับถือ[[พระแม่องค์ธรรม]]คือ[[พระเป็นเจ้า]] ถือการกินเจ รอคอยการมาเกิดของ[[พระศรีอริยเมตไตรย]] และต่อต้านการปกครองกดขี่ของต่างชาติคือ[[ชาวมองโกล]]ในขณะนั้น ราชวงศ์หยวนจึงปราบปราบลัทธิบัวขาวอย่างหนักจนลัทธินี้กลายเป็นองค์กรใต้ดิน แต่ลัทธิยังคงแพร่หลายอยู่ต่อมา


ถึงสมัยราชวงศ์ชิง หวงเต๋อฮุยซึ่งนับถือลัทธิบัวขาวได้แยกออกไปตั้งลัทธิศาสนาใหม่ในชื่อ'''เซียนเทียนเต้า''' คำสอนหลักยังคงเน้นเรื่อง[[พระแม่องค์ธรรม]] การถือพรต และการกินเจ<ref>[http://taiwanpedia.culture.tw/en/content?ID=4218&Keyword=Huang+Dehui Prior Heaven School], [[Encyclopedia of Taiwan]], เรียกข้อมูลวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2556</ref> และได้นำคำสอนของลัทธิหลัวมาผสมผสานด้วย<ref>[http://web.comhem.se/chineseboxing/tiandaohui.htm Tian Dao Hui 天道會], เรียกข้อมูลวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2556</ref> โดยหวงเต๋อฮุยประกาศตนเป็นธรรมาจารย์คนที่ 9 สืบจากนิกาย[[เซน]]ซึ่งถือ[[พระโพธิธรรม]]เป็นธรรมาจารย์องค์ที่ 1 ลัทธิเซียนเทียนเต้าได้แพร่หลายต่อมาและแตกแขนงออกไปอีก 5 ลัทธิ โดยลัทธิอนุตตรธรรมและลัทธิถงซั่นเซ่อยังคงถือหวงเต๋อฮุยเป็นธรรมาจารย์คนที่ 9 และยึดถือธรรมาจารย์เดียวกันจนถึง[[หยางหวนซวี]]ธรรมาจารย์คนที่ 13 นับจากนี้จึงนับธรรมาจารย์แตกต่างกัน<ref name="Hsien-T'ien Tao (Way of Former Heaven) Sects"/> ส่วนอีกสามลัทธิที่เหลือไม่ได้ยึดถือสายธรรมาจารย์เดียวกัน
ถึงสมัยราชวงศ์ชิง [[หวง เต๋อฮุย]] (黃德輝, ค.ศ. 1624–1690) ซึ่งนับถือ[[ลัทธิบัวขาว]]ได้แยกออกไปตั้งลัทธิศาสนาใหม่ในชื่อ'''เซียนเทียนเต้า''' คำสอนหลักยังคงเน้นเรื่อง[[พระแม่องค์ธรรม]] การถือพรต และการกินเจ<ref>[http://taiwanpedia.culture.tw/en/content?ID=4218&Keyword=Huang+Dehui Prior Heaven School], [[Encyclopedia of Taiwan]], เรียกข้อมูลวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2556</ref> และได้นำคำสอนของลัทธิหลัวมาผสมผสานด้วย<ref>[http://web.comhem.se/chineseboxing/tiandaohui.htm Tian Dao Hui 天道會], เรียกข้อมูลวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2556</ref> โดยหวง เต๋อฮุย ประกาศตนเป็น[[จู่ซือ]]รุ่นที่ 9 สืบจากนิกาย[[เซน]]ซึ่งถือ[[พระโพธิธรรม]]เป็น[[จู่ซือ]]องค์ที่ 1 ลัทธิเซียนเทียนเต้าได้แพร่หลายต่อมาและแตกแขนงออกไปอีก 5 ลัทธิ โดย[[ลัทธิอนุตตรธรรม]]และ[[ลัทธิถงซั่นเซ่อ]]ยังคงถือหวง เต๋อฮุย เป็นจู่ซือรุ่นที่ 9 และยึดถือจู่ซือสายเดียวกันจนถึง[[หยาง หวนซวี]] จู่ซือรุ่นที่ 13 นับจากนี้จึงนับจู่ซือแตกต่างกัน<ref name="Hsien-T'ien Tao (Way of Former Heaven) Sects"/> ส่วนอีกสามลัทธิที่เหลือไม่ได้ยึดถือสายธรรมาจารย์เดียวกัน


== ความเชื่อ ==
== ความเชื่อ ==
บรรทัด 12: บรรทัด 12:
ผู้นับถือลัทธิเซียนเทียนเต้าจะอุทิศตนช่วยเหลือพระแม่องค์ธรรมเพื่อนำสรรพสัตว์กลับสู่สวรรค์ดังเดิม โดยสอนเน้นหลักจริยธรรม การทำบุญ นับถือบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์โดยมีพระแม่องค์ธรรมเป็นสิ่งสูงสุด และรับคำสอนจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ผ่านทางร่างทรงซึ่งฝึกตนมารับหน้าที่นี้โดยเฉพาะ
ผู้นับถือลัทธิเซียนเทียนเต้าจะอุทิศตนช่วยเหลือพระแม่องค์ธรรมเพื่อนำสรรพสัตว์กลับสู่สวรรค์ดังเดิม โดยสอนเน้นหลักจริยธรรม การทำบุญ นับถือบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์โดยมีพระแม่องค์ธรรมเป็นสิ่งสูงสุด และรับคำสอนจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ผ่านทางร่างทรงซึ่งฝึกตนมารับหน้าที่นี้โดยเฉพาะ


ลัทธิเซียนเทียนเต้า (รวมถึงลัทธิที่แยกมาภายหลัง) ใช้คำสอนซึ่งผสมผสานจาก 3 ศาสนา ได้แก่ [[ศาสนาพุทธ]] [[ลัทธิขงจื๊อ]] และ[[ลัทธิเต๋า]] ต่อมาได้เอาคำสอนของ[[ศาสนาคริสต์]]และ[[ศาสนาอิสลาม]]มาใช้ด้วย จึงนับเป็น 5 ศาสนา<ref name="Hsien-T'ien Tao (Way of Former Heaven) Sects"/> และเชื่อว่าคำสอนของลัทธิตนไม่ใช่ศาสนา แต่เป็นสัจธรรมแท้สากลของทุกศาสนา
ลัทธิเซียนเทียนเต้า (รวมถึงลัทธิที่แยกมาภายหลัง) ใช้คำสอนซึ่งเป็น[[การผสานความเชื่อ]]ของ 3 ศาสนา ได้แก่ [[ศาสนาพุทธ]] [[ลัทธิขงจื๊อ]] และ[[ลัทธิเต๋า]] ต่อมาได้เอาคำสอนของ[[ศาสนาคริสต์]]และ[[ศาสนาอิสลาม]]มาใช้ด้วย จึงนับเป็น 5 ศาสนา<ref name="Hsien-T'ien Tao (Way of Former Heaven) Sects"/> และเชื่อว่าคำสอนของลัทธิตนไม่ใช่ศาสนา แต่เป็นสัจธรรมแท้สากลของทุกศาสนา

== จู่ซือ ==
[[จู่ซือ]] หรือ ปรมาจารย์เจ้าสำนักเซียนเทียนเต้า มีทั้งสิ้น 15 รุ่น โดย[[หวง เต๋อฮุย]] ศาสดาผู้ก่อตั้งลัทธิเซียนเทียนเต้าได้ถือเอาสังฆปริณายกทั้ง 6 องค์ของนิกาย[[เซน]]ในประเทศจีนเป็นจู่ซือของเซียนเทียนเต้าด้วย ต่อด้วยนักพรต[[ลัทธิเต๋า]] 2 รุ่น แล้วถือตนเป็นจู่ซือรุ่นที่ 6 ลำดับจูซือของเซียนเทียนเต้าจึงมีดังนี้
{{บน}}
* 1. [[พระโพธิธรรม]] (สังฆปริณายกนิกายเซน)
* 2. พระ[[ฮุ่ยเข่อ]] (สังฆปริณายกนิกายเซน)
* 3. พระ[[เซิงชั่น]] (สังฆปริณายกนิกายเซน)
* 4. พระ[[เต้าซิ่น]] (สังฆปริณายกนิกายเซน)
* 5. พระ[[หงเหริ่น]] (สังฆปริณายกนิกายเซน)
* 6. พระ[[ฮุ่ยเหนิง]] (สังฆปริณายกนิกายเซน)
* 7. [[ไป๋ อวี้ฉัน]] และ[[หม่า ตวนหยัง]] (นักพรตเต๋า)
{{กลาง}}
* 8. [[หลัว เว่ยฉวิน]] (นักพรตเต๋า)
* 9. [[หวง เต๋อฮุย]] (ผู้ก่อตั้งลัทธิเซียนเทียนเต้า)
* 10. [[อู๋ จื่อเสียง]]
* 11. [[เหอ รั่ว]]
* 12. [[หยวน จื้อเชียน]]
* 13. [[สวี กู่หนัน]] และ[[หยาง โส่วอี]]
* 14. [[เผิง อีฝ่า]]
* 15. [[หลิน จินจู่]]
{{ล่าง}}
หลังสมัยจู่ซือคนที่ 15 แล้วลัทธิเซียนเทียนเต้าก็แตกเป็นสายย่อยต่าง ๆ


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}


{{เรียงลำดับ|ซียนเทียนเต้า}}
[[หมวดหมู่:ศาสนาในประเทศจีน]]
[[หมวดหมู่:ศาสนาในประเทศจีน]]
[[หมวดหมู่:สรรพัชฌัตเทวนิยม]]
[[หมวดหมู่:องค์กรที่ก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 17]]
[[หมวดหมู่:การผสานความเชื่อ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:52, 2 เมษายน 2556

อักษร 母 หมู่ หมายถึง 'พระแม่องค์ธรรม' พระเป็นเจ้าตามความเชื่อของลัทธิเซียนเทียนเต้าและอีก 5 ลัทธิที่แตกแขนงออกมา

ลัทธิเซียนเทียนเต้า (จีน: 先天道 Xiāntiān Dào) เป็นลัทธิศาสนาหนึ่งที่หวง เต๋อฮุย ก่อตั้งขึ้นในสมัยราชวงศ์ชิง โดยสืบความเชื่อมาจากลัทธิบัวขาวในสมัยราชวงศ์หยวน นอกจากนี้ยังรับคำสอนมาจากลัทธิหลัวด้วย ลัทธิเซียนเทียนเต้าเป็นต้นกำเนิดของอีก 5 ลัทธิที่แยกตัวออกมาภายหลัง ได้แก่ ลัทธิอนุตตรธรรม ลัทธิถงซั่นเซ่อ ลัทธิฉือฮุ่ยถัง ลัทธิเทียนเต๋อเซิ่ง และลัทธิเต้าเยวี่ยน[1]

ประวัติ

ในสมัยราชวงศ์หยวนได้เกิดลัทธิบัวขาวขึ้น ซึ่งนับถือพระแม่องค์ธรรมคือพระเป็นเจ้า ถือการกินเจ รอคอยการมาเกิดของพระศรีอริยเมตไตรย และต่อต้านการปกครองกดขี่ของต่างชาติคือชาวมองโกลในขณะนั้น ราชวงศ์หยวนจึงปราบปราบลัทธิบัวขาวอย่างหนักจนลัทธินี้กลายเป็นองค์กรใต้ดิน แต่ลัทธิยังคงแพร่หลายอยู่ต่อมา

ถึงสมัยราชวงศ์ชิง หวง เต๋อฮุย (黃德輝, ค.ศ. 1624–1690) ซึ่งนับถือลัทธิบัวขาวได้แยกออกไปตั้งลัทธิศาสนาใหม่ในชื่อเซียนเทียนเต้า คำสอนหลักยังคงเน้นเรื่องพระแม่องค์ธรรม การถือพรต และการกินเจ[2] และได้นำคำสอนของลัทธิหลัวมาผสมผสานด้วย[3] โดยหวง เต๋อฮุย ประกาศตนเป็นจู่ซือรุ่นที่ 9 สืบจากนิกายเซนซึ่งถือพระโพธิธรรมเป็นจู่ซือองค์ที่ 1 ลัทธิเซียนเทียนเต้าได้แพร่หลายต่อมาและแตกแขนงออกไปอีก 5 ลัทธิ โดยลัทธิอนุตตรธรรมและลัทธิถงซั่นเซ่อยังคงถือหวง เต๋อฮุย เป็นจู่ซือรุ่นที่ 9 และยึดถือจู่ซือสายเดียวกันจนถึงหยาง หวนซวี จู่ซือรุ่นที่ 13 นับจากนี้จึงนับจู่ซือแตกต่างกัน[1] ส่วนอีกสามลัทธิที่เหลือไม่ได้ยึดถือสายธรรมาจารย์เดียวกัน

ความเชื่อ

ลัทธิเซียนเทียนเต้าเชื่อว่าพระแม่องค์ธรรมคือพระเป็นเจ้าพระผู้สร้างโลก และสรรพชีวิตไว้รวม 9.6 พันล้านชีวิต แต่ด้วยความหลงลืมธรรมชาติเดิมแท้ของตนจึงต้องเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในสังสารวัฏ และไม่อาจกลับสู่สวรรค์ได้ พระแม่องค์ธรรมจึงส่งพระพุทธเจ้า ศาสดา และนักปราชญ์ทั้งหลายมาเกิดบนโลกเพื่อฉุดช่วยสรรพสัตว์ให้กลับไปสู่ธรรมชาติเดิม โดยแบ่งออกเป็นสามยุค ยุคแรกเป็นยุคพระทีปังกรพุทธเจ้าได้ช่วยสรรพสัตว์ได้ 200 ล้านชีวิต ต่อมาเป็นยุคพระศากยมุนีพุทธเจ้าช่วยสรรพสัตว์ได้อีก 200 ล้านชีวิต เหลืออีก 9.2 พันล้านชีวิตพระศรีอริยเมตไตรยพุทธเจ้าในอนาคตจะเสด็จมาโปรดนำกลับสู่สวรรค์

ผู้นับถือลัทธิเซียนเทียนเต้าจะอุทิศตนช่วยเหลือพระแม่องค์ธรรมเพื่อนำสรรพสัตว์กลับสู่สวรรค์ดังเดิม โดยสอนเน้นหลักจริยธรรม การทำบุญ นับถือบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์โดยมีพระแม่องค์ธรรมเป็นสิ่งสูงสุด และรับคำสอนจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ผ่านทางร่างทรงซึ่งฝึกตนมารับหน้าที่นี้โดยเฉพาะ

ลัทธิเซียนเทียนเต้า (รวมถึงลัทธิที่แยกมาภายหลัง) ใช้คำสอนซึ่งเป็นการผสานความเชื่อของ 3 ศาสนา ได้แก่ ศาสนาพุทธ ลัทธิขงจื๊อ และลัทธิเต๋า ต่อมาได้เอาคำสอนของศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลามมาใช้ด้วย จึงนับเป็น 5 ศาสนา[1] และเชื่อว่าคำสอนของลัทธิตนไม่ใช่ศาสนา แต่เป็นสัจธรรมแท้สากลของทุกศาสนา

จู่ซือ

จู่ซือ หรือ ปรมาจารย์เจ้าสำนักเซียนเทียนเต้า มีทั้งสิ้น 15 รุ่น โดยหวง เต๋อฮุย ศาสดาผู้ก่อตั้งลัทธิเซียนเทียนเต้าได้ถือเอาสังฆปริณายกทั้ง 6 องค์ของนิกายเซนในประเทศจีนเป็นจู่ซือของเซียนเทียนเต้าด้วย ต่อด้วยนักพรตลัทธิเต๋า 2 รุ่น แล้วถือตนเป็นจู่ซือรุ่นที่ 6 ลำดับจูซือของเซียนเทียนเต้าจึงมีดังนี้

หลังสมัยจู่ซือคนที่ 15 แล้วลัทธิเซียนเทียนเต้าก็แตกเป็นสายย่อยต่าง ๆ

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 Hsien-T'ien Tao (Way of Former Heaven) Sects, Division of Religion and Philosophy, University of Cumbria, เรียกข้อมูลวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2556
  2. Prior Heaven School, Encyclopedia of Taiwan, เรียกข้อมูลวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2556
  3. Tian Dao Hui 天道會, เรียกข้อมูลวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2556