ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีโทรทัศน์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Phat21 (คุย | ส่วนร่วม)
ZenithZealotry (คุย | ส่วนร่วม)
เรียบเรียงใหม่หมด
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
'''สถานีโทรทัศน์''' เป็นหน่วยงาน ที่เป็นเจ้าของคลื่นความถี่วิทยุโทรทัศน์ หรือเป็นผู้รับสัมปทานคลื่นความถี่วิทยุโทรทัศน์ รวมถึงเป็นผู้จัดสรรเวลาในการออกอากาศวิทยุโทรทัศน์ ผ่านคลื่นความถี่ดังกล่าว และยังเป็นบริการส่งสัญญาณออกอากาศวิทยุโทรทัศน์ ไปสู่เครื่องรับโทรทัศน์ โดยผ่านคลื่นความถี่ทางอากาศ โดยมากจะอยู่ในรูปของ[[นิติบุคคล]] [[บริษัทจำกัด]]
'''สถานีโทรทัศน์''' เป็นหน่วยงาน ที่เป็นเจ้าของคลื่นความถี่วิทยุโทรทัศน์ หรือเป็นผู้รับสัมปทานคลื่นความถี่วิทยุโทรทัศน์ รวมถึงเป็นผู้จัดสรรเวลาในการออกอากาศวิทยุโทรทัศน์ ผ่านคลื่นความถี่ดังกล่าว และยังเป็นบริการส่งสัญญาณออกอากาศวิทยุโทรทัศน์ ไปสู่เครื่องรับโทรทัศน์ โดยผ่านคลื่นความถี่ทางอากาศ โดยมากจะอยู่ในรูปของ[[นิติบุคคล]] [[บริษัทจำกัด]]


== บริการโทรทัศน์แบบให้เปล่า ==
== บริการโทรทัศน์ภาคพื้นดิน ==
{{มุมมองสากล}}
บริการโทรทัศน์แบบให้เปล่า หรือ '''ฟรีทีวี''' เป็นบริการออกอากาศ[[วิทยุโทรทัศน์]] ที่หน่วย[[ราชการ]] และ[[รัฐวิสาหกิจ]][[บริษัทมหาชน]]ดำเนินการเอง หรือทำสัญญา[[สัมปทาน]]ให้[[นิติบุคคล]]ภาคเอกชนดำเนินการ ซึ่งประชาชนสามารถรับชมได้ โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรับชม


บริการโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television Services) เป็นการดำเนินงานออกอากาศวิทยุโทรทัศน์ ด้วยการส่งสัญญาณคลื่นไปตามอากาศ (มิใช่ส่งขึ้นสู่ชั้นอวกาศ) ซึ่งสามารถใช้เสาอากาศรับสัญญาณคลื่นดังกล่าว เพื่อใช้เครื่องรับโทรทัศน์แปลงเป็นสัญญาณโทรทัศน์เพื่อรับชมได้ทันที โดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพื่อเข้าถึงการรับชมแต่อย่างใด
=== ยุคหลังประกาศใช้พระราชบัญญัติ กสทช. ===
วุฒิสภาไทย ลงมติให้ผ่านร่างพระราชบัญญัติ การประกอบกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (พ.ร.บ.กสทช.) ด้วยคะแนน 82 ต่อ 4 เสียง ซึ่งจะมีผลให้ในปี [[พ.ศ. 2558]] เป็นต้นไป จะมีผลให้มีการเปลี่ยนจากคลื่น[[อนาล็อก]]เป็น[[ดิจิตอล]] ซึ่งจะมีผลให้บริการโทรทัศน์แบบให้เปล่าของไทย เพิ่มจาก 6 เป็น 48 ช่องในอนาคต โดยส่วนมากจะใช้ระบบ[[โทรทัศน์ความละเอียดสูง]] เท่าที่สามารถทำได้ก่อนในระยะแรก


=== บริการโทรทัศน์ภาคพื้นดินในประเทศไทย ===
โดยโทรทัศน์ในอนาคตที่จะใช้ระบบทีวีดิจิตอล จะมี 48ช่องโดยแบ่งเป็น ช่องเด็กและเยาวชน(SD)3ช่อง ช่องข่าว(SD)7ช่อง ช่องทั่วไป(SD)7ช่อง ช่องทั่วไปแบบคมชัดสูง(HD)7ช่อง ช่องทีวีชุมชนภูมิภาค 12ช่อง และช่องสาธารณะ12ช่อง โดยคาดว่าจะเริ่มประมูลได้ใน สิงหาคม กันยายน 2556
สำหรับในประเทศไทย คลื่นความถี่โทรทัศน์ภาคพื้นดิน เป็นทรัพยากรสื่อสารของชาติตามรัฐธรรมนูญ โดยมีหน่วย[[ราชการ]], [[รัฐวิสาหกิจ]]ในรูป[[บริษัทมหาชน]] หรือหน่วยงานของรัฐในบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี เป็นเจ้าของคลื่นความถี่ หรือทำสัญญา[[สัมปทาน]]ให้[[นิติบุคคล]]ภาคเอกชนดำเนินการ


==== ยุคหลังประกาศใช้พระราชบัญญัติ กสทช. ====
โดยช่อง 3 7 9ซึ่งเป็นช่องธุรกิจ จะต้องประมูลในช่องธุรกิจส่วนช่อง 5 11 ThaiPBS จะขอใบอนุญาติทีวีสาธารณะ
วุฒิสภาไทย ลงมติให้ผ่านร่างพระราชบัญญัติ การประกอบกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เป็นผลให้เปลี่ยนแปลงระบบคลื่นความถี่ จาก[[สัญญาณอนาล็อก]]ไปสู่[[สัญญาณดิจิตอล]] ซึ่งบริการโทรทัศน์ภาคพื้นดินของไทย จะเพิ่มจาก 6 เป็น 48 ช่อง ตั้งแต่ [[พ.ศ. 2558]] เป็นต้นไป โดยจะใช้ระบบ[[โทรทัศน์ความละเอียดสูง]]จำนวนหนึ่ง ตามขีดควา่มสามารถเท่าที่มีในระยะแรก
โดยคาดว่าช่องธุรกิจที่จะร่วมประมูล คือ

*ช่องทั่วไป ช่อง3,ช่อง7,ช่อง9,ทรู ,อินทัช,อาร์เอส(ช่อง 8),เวิร์คพอยท์,แกรมมี่,กลุ่มอัมรินทร์พริ้นติ้ง ,ไอพีเอ็ม ,เนชั่น
ต่อมา กสทช.วางแผนแม่บทโทรทัศน์ระบบดิจิตอล โดยกำหนดให้มีจำนวน 48 ช่อง โดยแบ่งเป็น ช่องโทรทัศน์ความละเอียดสูง 7 ช่อง, ช่องรายการประเภทข่าว 7 ช่อง, ช่องรายการทั่วไป 7 ช่อง, ช่องรายการเด็กและเยาวชน 3 ช่อง, ช่องรายการชุมชนและภูมิภาค 12 ช่อง และช่องรายการเพื่อสาธารณะ 12 ช่อง โดยประมาณการว่าจะเริ่มประมูลได้ ในช่วงเดือนสิงหาคม-กันยายน พ.ศ. 2556
*ช่องเด็กและเยาวชน ช่อง 9,อินทัช,การ์ตูนคลับ ,แก๊งการ์ตูน,เนชั่น,เวิร์คพอยท์

*ช่องข่าว ช่อง9,เนชั่น,สปริงนิวส์ ,เดลินิวส์ ,ไทยรัฐ ,ทรู(TNN24)
สำหรับสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดินเดิม ซึ่งมีสถานะเป็นช่องรายการเชิงธุรกิจ (คือ[[ไทยทีวีสีช่อง 3]], [[ช่อง 7 สี]] และ[[โมเดิร์นไนน์ทีวี]]) จะต้องเข้าประมูลช่องรายการเชิงธุรกิจ ทั้งนี้ กสทช.อนุญาตให้ทดลองออกอากาศ โดยเข้าใช้สัญญาณ ในส่วนรายการชุมชนและภูมิภาค ไปพลางก่อนได้ ส่วนสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดินเดิม ซึ่งมีสถานะเป็นช่องรายการเพื่อสาธารณะ (คือ [[ททบ.5]] [[สทท.]] และ[[ไทยพีบีเอส]]) กสทช.จะอนุญาตให้เข้าใช้สัญญาณ ในส่วนช่องรายการเพื่อสาธารณะได้ เมื่อคลื่นความถี่พร้อมสำหรับการออกอากาศแล้ว

อนึ่ง องค์กรธุรกิจที่คาดว่าจะเข้าร่วมการประมูล ในส่วนช่องรายการข่าว ได้แก่ [[บมจ.อสมท]] ([[เครือข่ายโทรทัศน์ดาวเทียมเอ็มคอท|เอ็มคอททีวี]]), บมจ.เนชั่นบรอดแคสติงคอร์ปอเรชัน ([[เนชั่นแชนแนล]]), [[ทรูวิชันส์|บมจ.ทรูวิชันส์]] ([[ทีเอ็นเอ็น]]), บจก.สปริงคอร์ปอเรชัน ([[สปริงนิวส์]]), บจก.เทรนด์วีจีทรี ([[ไทยรัฐ]]ทีวี), [[เดลินิวส์|บจก.สี่พระยาการพิมพ์]] ([[เดลินิวส์ทีวี]]) เป็นต้น ส่วนช่องรายการทั่วไป ได้แก่ บจก.บางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้นต์ (ไทยทีวีสีช่อง 3), บจก.กรุงเทพโทรทัศน์และวิทยุ (ช่อง 7 สี), บมจ.อสมท (โมเดิร์นไนน์ทีวี), [[ชิน คอร์ปอเรชั่น|บมจ.ชินคอร์ปอเรชัน]] (อินทัช), [[ทรู ดิจิตอล คอนเท้นท์ แอนด์ มีเดีย|บจก.ทรูดิจิตอลคอนเทนต์แอนด์มีเดีย]] (ทรูไลฟ์), [[เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์|บมจ.เวิร์คพอยท์เอ็นเทอร์เทนเมนท์]] (เวิร์คพอยท์ทีวี), [[จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่|บมจ.จีเอ็มเอ็มแกรมมี่]] ([[จีเอ็มเอ็มวัน|จีเอ็มเอ็มบรอดแคสติง]]), [[อาร์เอส|บมจ.อาร์เอส]] ([[สถานีโทรทัศน์ช่อง 8|ช่อง 8]]), [[อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง|อมรินทร์พรินติงแอนด์พับลิชชิง]], ไอพีเอ็ม ([[โทรทัศน์เคเบิล]]), [[เนชั่นมัลติมีเดียกรุ๊ป|บมจ.เนชั่นมัลติมีเดียกรุ๊ป]] (คมชัดลึกทีวี) เป็นต้น ส่วนช่องรายการเด็กและเยาวชน ได้แก่ บมจ.อสมท (เอ็มคอททีวี), บมจ.ชินคอร์ปอเรชัน (อินทัช), บจก.เอฟฟ์ ([[การ์ตูนคลับแชนแนล|การ์ตูนคลับ]]), [[โรส มีเดีย แอนด์ เอ็นเตอร์เทนเมนท์|บจก.โรสมีเดียแอนด์เอ็นเตอร์เทนเมนท์]] ([[แก๊งการ์ตูน แชนแนล|แก๊งการ์ตูน]]), บมจ.เนชั่นอินเตอร์เนชันแนลเอ็ดดูเทนเมนต์ (คิดส์โซน), บมจ.เวิร์คพอยท์เอ็นเทอร์เทนเมนท์ (ช่อง 6 รอบรู้ดูสนุก) เป็นต้น


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:52, 1 เมษายน 2556

สถานีโทรทัศน์ เป็นหน่วยงาน ที่เป็นเจ้าของคลื่นความถี่วิทยุโทรทัศน์ หรือเป็นผู้รับสัมปทานคลื่นความถี่วิทยุโทรทัศน์ รวมถึงเป็นผู้จัดสรรเวลาในการออกอากาศวิทยุโทรทัศน์ ผ่านคลื่นความถี่ดังกล่าว และยังเป็นบริการส่งสัญญาณออกอากาศวิทยุโทรทัศน์ ไปสู่เครื่องรับโทรทัศน์ โดยผ่านคลื่นความถี่ทางอากาศ โดยมากจะอยู่ในรูปของนิติบุคคล บริษัทจำกัด

บริการโทรทัศน์ภาคพื้นดิน

บริการโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television Services) เป็นการดำเนินงานออกอากาศวิทยุโทรทัศน์ ด้วยการส่งสัญญาณคลื่นไปตามอากาศ (มิใช่ส่งขึ้นสู่ชั้นอวกาศ) ซึ่งสามารถใช้เสาอากาศรับสัญญาณคลื่นดังกล่าว เพื่อใช้เครื่องรับโทรทัศน์แปลงเป็นสัญญาณโทรทัศน์เพื่อรับชมได้ทันที โดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพื่อเข้าถึงการรับชมแต่อย่างใด

บริการโทรทัศน์ภาคพื้นดินในประเทศไทย

สำหรับในประเทศไทย คลื่นความถี่โทรทัศน์ภาคพื้นดิน เป็นทรัพยากรสื่อสารของชาติตามรัฐธรรมนูญ โดยมีหน่วยราชการ, รัฐวิสาหกิจในรูปบริษัทมหาชน หรือหน่วยงานของรัฐในบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี เป็นเจ้าของคลื่นความถี่ หรือทำสัญญาสัมปทานให้นิติบุคคลภาคเอกชนดำเนินการ

ยุคหลังประกาศใช้พระราชบัญญัติ กสทช.

วุฒิสภาไทย ลงมติให้ผ่านร่างพระราชบัญญัติ การประกอบกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เป็นผลให้เปลี่ยนแปลงระบบคลื่นความถี่ จากสัญญาณอนาล็อกไปสู่สัญญาณดิจิตอล ซึ่งบริการโทรทัศน์ภาคพื้นดินของไทย จะเพิ่มจาก 6 เป็น 48 ช่อง ตั้งแต่ พ.ศ. 2558 เป็นต้นไป โดยจะใช้ระบบโทรทัศน์ความละเอียดสูงจำนวนหนึ่ง ตามขีดควา่มสามารถเท่าที่มีในระยะแรก

ต่อมา กสทช.วางแผนแม่บทโทรทัศน์ระบบดิจิตอล โดยกำหนดให้มีจำนวน 48 ช่อง โดยแบ่งเป็น ช่องโทรทัศน์ความละเอียดสูง 7 ช่อง, ช่องรายการประเภทข่าว 7 ช่อง, ช่องรายการทั่วไป 7 ช่อง, ช่องรายการเด็กและเยาวชน 3 ช่อง, ช่องรายการชุมชนและภูมิภาค 12 ช่อง และช่องรายการเพื่อสาธารณะ 12 ช่อง โดยประมาณการว่าจะเริ่มประมูลได้ ในช่วงเดือนสิงหาคม-กันยายน พ.ศ. 2556

สำหรับสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดินเดิม ซึ่งมีสถานะเป็นช่องรายการเชิงธุรกิจ (คือไทยทีวีสีช่อง 3, ช่อง 7 สี และโมเดิร์นไนน์ทีวี) จะต้องเข้าประมูลช่องรายการเชิงธุรกิจ ทั้งนี้ กสทช.อนุญาตให้ทดลองออกอากาศ โดยเข้าใช้สัญญาณ ในส่วนรายการชุมชนและภูมิภาค ไปพลางก่อนได้ ส่วนสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดินเดิม ซึ่งมีสถานะเป็นช่องรายการเพื่อสาธารณะ (คือ ททบ.5 สทท. และไทยพีบีเอส) กสทช.จะอนุญาตให้เข้าใช้สัญญาณ ในส่วนช่องรายการเพื่อสาธารณะได้ เมื่อคลื่นความถี่พร้อมสำหรับการออกอากาศแล้ว

อนึ่ง องค์กรธุรกิจที่คาดว่าจะเข้าร่วมการประมูล ในส่วนช่องรายการข่าว ได้แก่ บมจ.อสมท (เอ็มคอททีวี), บมจ.เนชั่นบรอดแคสติงคอร์ปอเรชัน (เนชั่นแชนแนล), บมจ.ทรูวิชันส์ (ทีเอ็นเอ็น), บจก.สปริงคอร์ปอเรชัน (สปริงนิวส์), บจก.เทรนด์วีจีทรี (ไทยรัฐทีวี), บจก.สี่พระยาการพิมพ์ (เดลินิวส์ทีวี) เป็นต้น ส่วนช่องรายการทั่วไป ได้แก่ บจก.บางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้นต์ (ไทยทีวีสีช่อง 3), บจก.กรุงเทพโทรทัศน์และวิทยุ (ช่อง 7 สี), บมจ.อสมท (โมเดิร์นไนน์ทีวี), บมจ.ชินคอร์ปอเรชัน (อินทัช), บจก.ทรูดิจิตอลคอนเทนต์แอนด์มีเดีย (ทรูไลฟ์), บมจ.เวิร์คพอยท์เอ็นเทอร์เทนเมนท์ (เวิร์คพอยท์ทีวี), บมจ.จีเอ็มเอ็มแกรมมี่ (จีเอ็มเอ็มบรอดแคสติง), บมจ.อาร์เอส (ช่อง 8), อมรินทร์พรินติงแอนด์พับลิชชิง, ไอพีเอ็ม (โทรทัศน์เคเบิล), บมจ.เนชั่นมัลติมีเดียกรุ๊ป (คมชัดลึกทีวี) เป็นต้น ส่วนช่องรายการเด็กและเยาวชน ได้แก่ บมจ.อสมท (เอ็มคอททีวี), บมจ.ชินคอร์ปอเรชัน (อินทัช), บจก.เอฟฟ์ (การ์ตูนคลับ), บจก.โรสมีเดียแอนด์เอ็นเตอร์เทนเมนท์ (แก๊งการ์ตูน), บมจ.เนชั่นอินเตอร์เนชันแนลเอ็ดดูเทนเมนต์ (คิดส์โซน), บมจ.เวิร์คพอยท์เอ็นเทอร์เทนเมนท์ (ช่อง 6 รอบรู้ดูสนุก) เป็นต้น

ดูเพิ่ม