ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 49"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่รูปนายกรัฐมนตรี
บรรทัด 2: บรรทัด 2:


'''[[คณะรัฐมนตรี]]คณะที่ 49''' (10 มิถุนายน 2535-23 กันยายน 2535)
'''[[คณะรัฐมนตรี]]คณะที่ 49''' (10 มิถุนายน 2535-23 กันยายน 2535)
[[ภาพ:นายอานันท์ ปันยารชุน.jpg|thumb|[[อานันท์ ปันยารชุน|นายอานันท์ ปันยารชุน]] นายกรัฐมนตรีคนที่ 18 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 49]]


นาย[[อานันท์ ปันยารชุน ]] เป็น[[นายกรัฐมนตรี ]] ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่
นาย[[อานันท์ ปันยารชุน]] เป็น[[นายกรัฐมนตรี ]] ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่
10 มิถุนายน 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ
10 มิถุนายน 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ
นาย[[อาทิตย์ อุไรรัตน์]] [[ประธานสภาผู้แทนราษฎร]]เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 18
นาย[[อาทิตย์ อุไรรัตน์]] [[ประธานสภาผู้แทนราษฎร]]เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 18

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:59, 7 เมษายน 2550

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 49 เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิประเทศไทยและสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับประเทศไทย ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 49 หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
??? บทความนี้ยังไม่ได้รับการพิจารณาตามการจัดระดับการเขียนบทความ

คณะรัฐมนตรีคณะที่ 49 (10 มิถุนายน 2535-23 กันยายน 2535)

ไฟล์:นายอานันท์ ปันยารชุน.jpg
นายอานันท์ ปันยารชุน นายกรัฐมนตรีคนที่ 18 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 49

นายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ นายอาทิตย์ อุไรรัตน์ ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 18 มิถุนายน 2535 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี


รายชื่อคณะรัฐมนตรี

  1. นายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรี
  2. พลตำรวจเอก เภา สารสิน เป็นรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
  3. นายเกษม สุวรรณกุล เป็นรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย
  4. หม่อมราชวงศ์เกษมสโมสร เกษมศรี เป็นรองนายกรัฐมนตรี
  5. นายมีชัย วีระไวทยะ เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
  6. นางสายสุรี จุติกุล เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
  7. พลเอก บรรจบ บุนนาค เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
  8. นายพนัส สิมะเสถียร เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
  9. นายอาสา สารสิน เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
  10. นายโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  11. นายอำพล เสนาณรงค์ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  12. นายนุกูล ประจวบเหมาะ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
  13. หม่อมหลวงเชิงชาญ กำภู เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
  14. นายอมเรศ ศิลาอ่อน เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
  15. หม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์
  16. นายเจริญจิตต์ ณ สงขลา เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
  17. นายเอนก สิทธิประศาสน์ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
  18. นายวิเชียร วัฒนคุณ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
  19. นายไพจิตร เอื้อทวีกุล เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
  20. นายกอปร กฤตยากีรณ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
  21. นายก่อ สวัสดิ์พาณิชย์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
  22. นายสมชัย วุฑฒิปรีชา เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
  23. นายไพโรจน์ นิงสานนท์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
  24. นายสิปปนนท์ เกตุทัต เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
  25. นายวีระ สุสังกรกาญจน์ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม

การสิ้นสุดของคณะรัฐมนตรี

คณะรัฐมนตรีคณะนี้สิ้นสุดลง เนื่องจากมีการเลือกตั้งสภาผู้แทนราษฎรทั่วไป ในวันที่ 13 กันยายน 2535 คณะรัฐมนตรีชุดนี้จึงพ้นจากตำแหน่งไปตามวาระ

อ้างอิง