ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กะเพราควาย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PAHs (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มหมวดหมู่:ผักแล้ว ด้วยฮอทแคต
PAHs (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11: บรรทัด 11:
| familia = [[Lamiaceae]]
| familia = [[Lamiaceae]]
| genus = [[Ocimum]]
| genus = [[Ocimum]]
| species = '''''Ocimum Gratissimum'''''
| species = '''''O. gratissimum'''''
| binomial = Ocimum Gratissimum
| binomial = Ocimum gratissimum
| binomial_authority =
| binomial_authority =
}}
}}
'''ยี่หร่า (Tree Basil)''' (ชื่อวิทยาศาสตร์ Ocimum Gratissimum) เป็นญาติห่างๆกับพืชตระกูลกะเพราอื่นๆ มีนามสกุลเดียวกัน (Ocimum) ชื่อในภาษาอังกฤษค่อนข้างจะแปลกไปเล็กน้อย คือชื่อไม่ได้มาจากรส เหมือน[[โหระพา]]หรือ[[แมงลัก]] แต่ชื่อของมันคือ Tree Basil หรือเรียกตามถิ่นว่า Indian Tree Basil ในสายพันธุ์อินเดีย และ South-East Asian Tree Basil ในสายพันธุ์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
'''ยี่หร่า (Tree Basil)''' (ชื่อวิทยาศาสตร์ Ocimum gratissimum) เป็นญาติห่างๆกับพืชตระกูลกะเพราอื่นๆ มีนามสกุลเดียวกัน (Ocimum) ชื่อในภาษาอังกฤษค่อนข้างจะแปลกไปเล็กน้อย คือชื่อไม่ได้มาจากรส เหมือน[[โหระพา]]หรือ[[แมงลัก]] แต่ชื่อของมันคือ Tree Basil หรือเรียกตามถิ่นว่า Indian Tree Basil ในสายพันธุ์อินเดีย และ South-East Asian Tree Basil ในสายพันธุ์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้


== สายพันธุ์ ==
== สายพันธุ์ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:25, 28 มีนาคม 2556

สำหรับยี่หร่า ที่เป็นเครื่องเทศไทยอีสาน ดูที่ผักชีล้อม

ยี่หร่า
ไฟล์:Yeera2.jpg
ยี่หร่า (Ocimum Gratissimum)
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
หมวด: Magnoliophyta
ชั้น: Magnoliopsida
อันดับ: Lamiales
วงศ์: Lamiaceae
สกุล: Ocimum
สปีชีส์: O.  gratissimum
ชื่อทวินาม
Ocimum gratissimum

ยี่หร่า (Tree Basil) (ชื่อวิทยาศาสตร์ Ocimum gratissimum) เป็นญาติห่างๆกับพืชตระกูลกะเพราอื่นๆ มีนามสกุลเดียวกัน (Ocimum) ชื่อในภาษาอังกฤษค่อนข้างจะแปลกไปเล็กน้อย คือชื่อไม่ได้มาจากรส เหมือนโหระพาหรือแมงลัก แต่ชื่อของมันคือ Tree Basil หรือเรียกตามถิ่นว่า Indian Tree Basil ในสายพันธุ์อินเดีย และ South-East Asian Tree Basil ในสายพันธุ์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

สายพันธุ์

ในประเทศไทยแล้ว ก็คงเรียกชื่อโดยตรงว่ายี่หร่า โดยไม่ได้แบ่งแยกพันธุ์อะไร เพราะเนื่องจากไม่ใช่พืชเศรษฐกิจ หรือพืชสำคัญ จึงยังไม่ได้รับความสนใจในการปรับปรุงพันธุ์

สรรพคุณทางยา

อาหารไทยใช้ยี่หร่าในการปรุงแต่งกลิ่นอาหาร โดยคั่วเมล็ดโขลกผสมกับเครื่องแกง เช่นแกงกะหรี่ แกงเผ็ด แกงเขียวหวาน ส่วนต้นและรากตากให้แห้ง ช่วยย่อย ยาขับลม แก้ปวดท้อง ท้องอืด ท้องเฟ้อ

แหล่งเพาะปลูกยี่หร่าเชิงการค้า

ยี่หร่าเป็นพืชที่หลายคนไม่ค่อยให้ความสนใจมากนัก จึงมีแหล่งปลูกทั่วประเทศเพียง 18 ไร่เท่านั้น แต่ยังให้ผลผลิตสูงถึงราว 24 ตันต่อปี

จังหวัด อำเภอ พื้นที่ปลูก
(ไร่)
ผลผลิตสูงสุด
(กิโลกรัม/ไร่)
ฤดูการเก็บเกี่ยว ราคาเฉลี่ย
(บาท/กิโลกรัม)
นครนายก อ.เมือง 1 900 ตลอดทั้งปี 10
สุรินทร์ อ.ปราสาท 2 400 ตลอดทั้งปี 10
อ.สนม 1 400 ตลอดทั้งปี 10
อุดรธานี อ.กุมภวาปี 1 60 ตลอดทั้งปี 10
มหาสารคาม อ.นาเชือก 0.5 430 ตลอดทั้งปี 10
อุบลราชธานี อ.เหล่าเสือโก้ก 1 100 ตลอดทั้งปี 10
บุรีรัมย์ อ.เฉลิมพระเกียรติ 6 2,700 ตลอดทั้งปี 5
อ.โนนสุวรรณ 0.5 200 ตลอดทั้งปี 15
สุราษฎร์ธานี อ.พนม 0.25 15 ตลอดทั้งปี 15
ปัตตานี อ.โคกโพธิ์ 1 1,800 ตลอดทั้งปี 30
อ.มายอ 2 1,200 ตลอดทั้งปี 15
แม่ฮ่องสอน อ.ขุนยวม 2 700 ตลอดทั้งปี 15
รวมพื้นที่ปลูก 18.25 ไร่
ผลผลิต 24378.75 กิโลกรัม/ปี



อ้างอิง

  • วีระศักดิ์ พักตรานวลหง. พืชผักตระกูลกะเพรา . กรุงเทพมหานคร . คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. ตุลาคม 2549
  • บัญชีแนบท้ายประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง ทะเบียนพันธุ์พืชในประเทศไทย
  • แหล่งผลิตผักพื้นบ้านเชิงการค้า พ.ศ. 2545 กรมวิชาการเกษตร
  • สำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล www.medplant.mahidol.ac.th
  • โครงการสำนึกรักบ้านเกิด www.rakbankerd.com
  • กรมส่งเสริมการส่งออก www.depthai.go.th
  • กรมส่งเสริมการเกษตร www.doae.go.th
  • Gernot Katzer’s Spice Pages www.uni-graz.at/%7Ekatzer/engl/index.html

แหล่งข้อมูลอื่น