ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุทยานแห่งชาติกาซีรังคา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
K7L (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 66: บรรทัด 66:
* [http://www.assamforest.co.in/NP_Sanctuaries/np_Kaziranga.php Department of Environment and Forests (Government of Assam)–Kaziranga]
* [http://www.assamforest.co.in/NP_Sanctuaries/np_Kaziranga.php Department of Environment and Forests (Government of Assam)–Kaziranga]
* [http://www.world-heritage-tour.org/asia/south-asia/india/kaziranga/map.html '''''360 degree photos of some parts of Kaziranga''''']
* [http://www.world-heritage-tour.org/asia/south-asia/india/kaziranga/map.html '''''360 degree photos of some parts of Kaziranga''''']
* {{Wikitravel}}
* {{wikivoyage|Kaziranga}}


{{มรดกโลกอินเดีย}}
{{มรดกโลกอินเดีย}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:08, 12 มีนาคม 2556

อุทยานแห่งชาติกาจิรังคา
ทุ่งหญ้าน้ำท่วมถึงในอุทยานแห่งชาติกาจิรังคา
ที่ตั้งรัฐอัสสัม
เมืองใกล้สุดเมืองโคลาฆาต
พื้นที่430 กม.2
จัดตั้ง1974
ผู้เยี่ยมชม5,228 (2005–06)
หน่วยราชการรัฐบาลอินเดีย, รัฐบาลรัฐอัสสัม
เว็บไซต์www.kaziranga-national-park.com
Kaziranga National Park *
  แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก
ประเทศธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
ภูมิภาค **เอเชียใต้
ประเภทมรดกทางธรรมชาติ
เกณฑ์พิจารณาix, x
อ้างอิง337
ประวัติการขึ้นทะเบียน
ขึ้นทะเบียน1985 (คณะกรรมการสมัยที่ 9)
* ชื่อตามที่ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก

อุทยานแห่งชาติกาจิรังคา (อังกฤษ: Kaziranga National Park, อัสสัม: কাজিৰঙা ৰাষ্ট্ৰীয় উদ্যান, Kazirônga Rastriyô Uddan) เป็นอุทยานแห่งชาติในเขตโคลาฆาต (Golaghat) และ นากาโอน (Nagaon) ของรัฐอัสสัม ประเทศอินเดีย เป็นมรดกโลกซึ่งเป็นถิ่นอาศัยของแรดอินเดียจำนวนมากถึงสองในสามของโลก[1] กาจิรังคายังเชิดหน้าชูตาด้วยมีประชากรเสือโคร่งหนาแน่นที่สุดในหมู่พื้นที่คุ้มครองด้วยกันทั่วโลกและจัดตั้งเขตสงวนพันธุ์เสือขึ้นในปี ค.ศ. 2006 อุทยานยังเป็นบ้านและแหล่งขยายพันธุ์ของประชากรจำนวนมากของช้าง ควายป่า และ กวางบึง กาจิรังคายังเป็น พื้นที่สำคัญเพื่อการอนุรักษ์นก โดยองค์การชีวปักษานานาชาติ (Birdlife International) สำหรับเพื่อการอนุรักษ์นกท้องถิ่น เมื่อเปรียบเทียบกับเขตคุ้มครองอื่นๆในประเทศอินเดียกาจิรังคาประสบความสำเร็จในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติเป็นอย่างมาก และด้วยตำแหน่งที่อยู่ริมขอบของจุดที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงของเทือกเขาหิมาลัยตะวันออก อุทยานจึงมีความหลากหลายทางสปีชีส์สูงอย่างเห็นได้ชัด

อุทยานแห่งชาติกาจิรังคาประกอบไปด้วยทุ่งหญ้ากว้างขวาง ลุ่มน้ำท่วมถึง และป่าไม้เขตร้อนหนาแน่น มีแม่น้ำไหลผ่านถึง 4 สายรวมถึงแม่น้ำพรหมบุตร และอุทยานยังประกอบด้วยแหล่งน้ำขนาดเล็กจำนวนมาก นอกจากนี้กาจิรังคาเป็นประเด็นในหนังสือหลายเล่ม เพลงหลายเพลง และเอกสารหลายๆเรื่อง อุทยานพึ่งฉลองครบรอบหนึ่งร้อยปีหลังมีการจัดตั้งเป็นป่าสงวนในปี ค.ศ. 1905

อ้างอิง

  1. Bhaumik, Subir (17 April 2007). "Assam rhino poaching 'spirals'". BBC News. สืบค้นเมื่อ 2008-08-23.

อ่านเพิ่ม

  • Barthakur, Ranjit; Sahgal, Bittu (2005). The Kaziranga Inheritance. Mumbai: Sanctuary Asia
  • Choudhury, Anwaruddin (2000). The Birds of Assam. Guwahati: Gibbon Books and World Wide Fund for Nature. {{cite book}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |coauthors= (help)
  • Choudhury, Anwaruddin (2003). Birds of Kaziranga National Park: A checklist. Guwahati: Gibbon Books and The Rhino Foundation for Nature in NE India. {{cite book}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |coauthors= (help)
  • Choudhury, Anwaruddin (2004). Kaziranga Wildlife in Assam. India: Rupa & Co. {{cite book}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |coauthors= (help)
  • Dutta, Arup Kumar (1991). Unicornis: The Great Indian One Horned Rhinoceros. New Delhi: Konark Publication. {{cite book}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |coauthors= (help)
  • Gee, E.P. (1964). The Wild Life of India. London: Collins. {{cite book}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |coauthors= (help)
  • Jaws of Death—a 2005 documentary by Gautam Saikia about Kaziranga animals being hit by vehicular traffic while crossing National Highway 37, winner of the Vatavaran Award.
  • Oberai, C.P. (2002). Kaziranga: The Rhino Land. New Delhi: B.R. Publishing. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  • Shrivastava, Rahul; Heinen, Joel (2007). "A microsite analysis of resource use around Kaziranga National Park, India: Implications for conservation and development planning". Journal of Environment and Development 16(2): 207–226
  • Shrivastava, Rahul; Heinen, Joel (2005). "Migration and Home Gardens in the Brahmaputra Valley, Assam, India". Journal of Ecological Anthropology 9: 20–34
  • Shrivastava, Rahul; Heinen, Joel (2003). "A pilot survey of nature-based tourism at Kaziranga National Park and World Heritage Site, India". "American Museum of Natural History: Spring Symposium". Archived from the original on 2005-12-30.

แหล่งข้อมูลอื่น

แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link GA