ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เขตอัครบิดร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น|เกี่ยวกับ= |สำหรับ= |ดูที่=อัครบิดรแห่งคริสตจักรตะวันออก |เปลี่ยนทาง=}}
{{คริสต์}}
{{คริสต์}}
'''เขตอัครบิดร'''<ref name="พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน">ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 375-6</ref> ({{lang-en|Patriarchate}}) เป็นเขตอำนาจการปกครองของ[[อัครบิดร]] (Patriarch) คำว่า “อัครบิดร” อาจจะใช้สำหรับ
'''เขตอัครบิดร'''<ref name="พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน">ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 375-6</ref> ({{lang-en|Patriarchate}}) เป็นเขตอำนาจการปกครองของ[[อัครบิดร]] (Patriarch) ได้แก่


* หนึ่งในตำแหน่งประมุขสูงสุดของ “[[มุขนายก]]” ของ[[อีสเติร์นออร์โธด็อกซ์]]ที่เดิมมีห้าตำแหน่งที่รวมทั้งมุขนายกมิสซัง[[โรม]], [[คอนสแตนติโนเปิล]], [[เล็กซานเดรีย]], [[อันติโอค]], และ [[เยรูซาเลม]] แต่ปัจจุบันมีเก้าตำแหน่ง โดยรวมมุขนายกมิสซัง[[เซอร์เบีย]], [[รัสเซีย]], [[ประเทศจอร์เจีย|จอร์เจีย]], [[บัลแกเรีย]] และ [[โรมาเนีย]]
* [[มุขนายก]]สูงสุดในนิกาย[[อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์]] เดิมมีห้าตำแหน่งจึงเรียกว่า [[เบญจาธิปไตย]] ประกอบด้วยมุขนายกแห่งกรุง[[มุขมณฑลโรม|โรม]] [[อัครบิดรสากลแห่งคอนสแตนติโนเปิล|คอนสแตนติโนเปิล]] [[อัครบิดรแห่งอะเล็กซานเดรีย|อะเล็กซานเดรีย]] [[อัครบิดรแห่งแอนติออก|แอนติออก]] และ[[อัครบิกรแห่งเยรูซาเลม|เยรูซาเลม]] แต่ปัจจุบันมีเก้าตำแหน่ง โดยรวมมุขนายกแห่ง[[อัครบิดรแห่งเซอร์เบีย|เซอร์เบีย]] [[อัครบิดรแห่งมอสโกและชาวรัสทั้งปวง|รัสเซีย]] [[อัครบิดรแห่งจอร์เจียทั้งปวง|จอร์เจีย]] [[อัครบิดรแห่งบัลแกเรียทั้งปวง|บัลแกเรีย]] และ[[อัครบิดรแห่งโรมาเนียทั้งปวง|โรมาเนีย]]


* หนึ่งในตำแหน่งสูงสุดมุขนายกของ[[โรมันคาทอลิก]] ได้แก่ [[สมเด็จพระสันตะปาปา]], “[[อัครบิดรแห่งตะวันออก]]” (Patriarchs of the east) หกตำแหน่ง, และ[[มุขนายกมิสซังลิสบอน]], [[มุขนายกมิสซังเวนิส]], [[มุขนายกลาตินแห่งเยรูซาเลม]] และ [[มุขนายกมิสซังอินเดียตะวันออก]]
* ตำแหน่งมุขนายกระดับสูง 10 ตำแหน่งในคริสตจักร[[โรมันคาทอลิก]] ได้แก่ 7 อัครบิดรแห่งตะวันออก (6 องค์จากฝ่ายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ และอีกองค์เป็นอัครบิดรละตินแห่งเยรูซาเลม) และ[[เขตอัครบิดรแห่งลิสบอน|ลิสบอน]] [[เขตอัครบิดรเวนิส|เวนิส]] และ[[อัครบิดรแห่งอีสต์อินดีส์|อีสต์อินดีส์]]

* หนึ่งในตำแหน่งมุขนายกของ[[โอเรียนทัลออร์โธด็อกซ์]] และ [[อัสสีเรียนเชิร์ชออฟเดอะอีสต์]] (Assyrian Church of the East)


==ประวัติ==
==ประวัติ==
ตำแหน่ง[[อัครบิดร]] (Pentarchy) เดิมมี 5 ตำแหน่ง ประกอบด้วย[[สมเด็จพระสันตะปาปา]]ซึ่งเป็นอัครบิดรแห่งโรม [[อัครบิดรแห่งคอนสแตนติโนเปิล]], [[อัครบิดรแห่งอเล็กซานเดรีย]] [[อัครบิดรแห่งแอนติออก]] และ[[อัครบิดรแห่งเยรูซาเลม]] ในปี ค.ศ. 1054 เกิด[[ความแตกแยกระหว่างคริสตจักรตะวันออกและตะวันตก]] (East-West Schism) ทำให้คริสตจักรแยกออกเป็นเขตอัครบิดรที่ใช้[[ภาษาละติน]] คือ[[นิกายโรมันคาทอลิก]]ในปัจจุบัน และสี่เขตอัครบิดรที่ใช้ภาษากรีกซึ่งเป็นนิกาย[[อีสเติร์นออร์โธด็อกซ์]]ในปัจจุบัน ส่วน[[อัครบิดรแห่งแอนติออก]]ย้ายสำนักไปตั้งที่[[ดามัสกัส]]ในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ในระหว่างสมัยการปกครองของ[[มามลุค]][[อียิปต์]]ผู้พิชิต[[ซีเรีย]] แม้ว่าจะตั้งอยู่ในดามัสกัสแล้ว แต่ตำแหน่งนี้ก็ยังเรียกว่า[[อัครบิดรแห่งแอนติออก]]
ตำแหน่ง[[อัครบิดร]] (Pentarchy) เดิมมี 5 ตำแหน่ง ประกอบด้วย[[สมเด็จพระสันตะปาปา]]ซึ่งเป็นอัครบิดรแห่งโรม [[อัครบิดรแห่งคอนสแตนติโนเปิล]] [[อัครบิดรแห่งอะเล็กซานเดรีย]] [[อัครบิดรแห่งแอนติออก]] และ[[อัครบิดรแห่งเยรูซาเลม]] ในปี ค.ศ. 1054 เกิด[[ศาสนเภทรตะวันออก-ตะวันตก]] (East-West Schism) ทำให้คริสตจักรแยกออกเป็นเขตอัครบิดรที่ใช้[[ภาษาละติน]] คือนิกาย[[โรมันคาทอลิก]]ในปัจจุบัน และสี่เขตอัครบิดรที่ใช้ภาษากรีกซึ่งเป็นนิกาย[[อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์]]ในปัจจุบัน ส่วน[[อัครบิดรแห่งแอนติออก]]ย้ายสำนักไปตั้งที่[[ดามัสกัส]]ในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ในระหว่างสมัยการปกครองของพวก[[มามลุค]][[ชาวอียิปต์]]ผู้มาพิชิต[[ซีเรีย]] แม้ว่าจะตั้งอยู่ในดามัสกัสแล้ว แต่ตำแหน่งนี้ก็ยังเรียกว่า[[อัครบิดรแห่งแอนติออก]]


ตำแหน่งอัครบิดรของออร์ทอดอกซ์ทั้งสี่ อันได้แก่ [[คอนสแตนติโนเปิล]], [[เล็กซานเดรีย]], [[อันติโอค]], และ [[เยรูซาเลม]] และหนึ่งตำแหน่งทางตะวันตกใน[[กรุงโรม]]ถือกันว่าเป็นตำแหน่ง “ผู้อาวุโส” ({{lang-el|πρεσβυγενή หรือ παλαίφατα}} หรือ “ผู้เกิดก่อน” [http://www.perseus.tufts.edu/cgi-bin/ptext?doc=Perseus%3Atext%3A1999.04.0057%3Aentry%3D%2376800 "of ancient fame"]) โดยแต่ละตำแหน่งก็มีหนึ่งใน[[อัครทูต]]เป็นอัครบิดรองค์แรก ได้แก่ [[นักบุญแอนดรูว์]] [[นักบุญมาร์ค]] [[นักบุญปีเตอร์]] [[นักบุญเจมส์]] และ[[นักบุญปีเตอร์]]อีกครั้งตามลำดับ
ตำแหน่งอัครบิดรของออร์ทอดอกซ์ทั้งสี่ อันได้แก่ [[คอนสแตนติโนเปิล]] [[อะเล็กซานเดรีย]] [[แอนติออก]] และ[[เยรูซาเลม]] และหนึ่งตำแหน่งทางตะวันตกในกรุง[[โรม]]ถือกันว่าเป็นตำแหน่ง “ผู้อาวุโส” ({{lang-el|πρεσβυγενή หรือ παλαίφατα}} หรือ “ผู้เกิดก่อน” [http://www.perseus.tufts.edu/cgi-bin/ptext?doc=Perseus%3Atext%3A1999.04.0057%3Aentry%3D%2376800 "of ancient fame"]) โดยแต่ละตำแหน่งก็มีหนึ่งใน[[อัครทูต]]เป็นอัครบิดรองค์แรก ได้แก่ [[นักบุญอันดรูว์]] นักบุญ[[มาระโกผู้นิพนธ์พระวรสาร]] นักบุญ[[ซีโมนเปโตร]] นักบุญ[[ยากอบ บุตรเศเบดี]] และ[[นักบุญเปโตร]]อีกครั้งตามลำดับ


ในบางประเทศให้'''เขตอัครบิดร''' (Patriarchate) มีสถานะเป็น[[นิติบุคคล]]คือถือว่าเป็น[[บรรษัท]] (corporation) แบบหนึ่ง สามารถดำเนินการฟ้องร้องคดีในศาลได้
ในบางประเทศให้'''เขตอัครบิดร''' (Patriarchate) มีสถานะเป็น[[นิติบุคคล]]คือถือว่าเป็น[[บรรษัท]] (corporation) แบบหนึ่ง สามารถดำเนินการฟ้องร้องคดีในศาลได้
บรรทัด 25: บรรทัด 22:


{{เรียงลำดับ|ขตอัครบิดร}}
{{เรียงลำดับ|ขตอัครบิดร}}
[[หมวดหมู่:ระบบการปกครองของศาสนาคริสต์]]
[[หมวดหมู่:มุขมณฑล]]


[[pl:Monarchia patrymonialna]]
[[pl:Monarchia patrymonialna]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:12, 11 มีนาคม 2556

เขตอัครบิดร[1] (อังกฤษ: Patriarchate) เป็นเขตอำนาจการปกครองของอัครบิดร (Patriarch) ได้แก่

  • ตำแหน่งมุขนายกระดับสูง 10 ตำแหน่งในคริสตจักรโรมันคาทอลิก ได้แก่ 7 อัครบิดรแห่งตะวันออก (6 องค์จากฝ่ายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ และอีกองค์เป็นอัครบิดรละตินแห่งเยรูซาเลม) และลิสบอน เวนิส และอีสต์อินดีส์

ประวัติ

ตำแหน่งอัครบิดร (Pentarchy) เดิมมี 5 ตำแหน่ง ประกอบด้วยสมเด็จพระสันตะปาปาซึ่งเป็นอัครบิดรแห่งโรม อัครบิดรแห่งคอนสแตนติโนเปิล อัครบิดรแห่งอะเล็กซานเดรีย อัครบิดรแห่งแอนติออก และอัครบิดรแห่งเยรูซาเลม ในปี ค.ศ. 1054 เกิดศาสนเภทรตะวันออก-ตะวันตก (East-West Schism) ทำให้คริสตจักรแยกออกเป็นเขตอัครบิดรที่ใช้ภาษาละติน คือนิกายโรมันคาทอลิกในปัจจุบัน และสี่เขตอัครบิดรที่ใช้ภาษากรีกซึ่งเป็นนิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ในปัจจุบัน ส่วนอัครบิดรแห่งแอนติออกย้ายสำนักไปตั้งที่ดามัสกัสในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ในระหว่างสมัยการปกครองของพวกมามลุคชาวอียิปต์ผู้มาพิชิตซีเรีย แม้ว่าจะตั้งอยู่ในดามัสกัสแล้ว แต่ตำแหน่งนี้ก็ยังเรียกว่าอัครบิดรแห่งแอนติออก

ตำแหน่งอัครบิดรของออร์ทอดอกซ์ทั้งสี่ อันได้แก่ คอนสแตนติโนเปิล อะเล็กซานเดรีย แอนติออก และเยรูซาเลม และหนึ่งตำแหน่งทางตะวันตกในกรุงโรมถือกันว่าเป็นตำแหน่ง “ผู้อาวุโส” (กรีก: πρεσβυγενή หรือ παλαίφατα หรือ “ผู้เกิดก่อน” "of ancient fame") โดยแต่ละตำแหน่งก็มีหนึ่งในอัครทูตเป็นอัครบิดรองค์แรก ได้แก่ นักบุญอันดรูว์ นักบุญมาระโกผู้นิพนธ์พระวรสาร นักบุญซีโมนเปโตร นักบุญยากอบ บุตรเศเบดี และนักบุญเปโตรอีกครั้งตามลำดับ

ในบางประเทศให้เขตอัครบิดร (Patriarchate) มีสถานะเป็นนิติบุคคลคือถือว่าเป็นบรรษัท (corporation) แบบหนึ่ง สามารถดำเนินการฟ้องร้องคดีในศาลได้


อ้างอิง

  1. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 375-6
  • Catholic Encyclopedia: Patriarch and Patriarchate[1]

ดูเพิ่ม