ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคหมอทำ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
[[หมวดหมู่:ความผิดพลาดทางการแพทย์]]
[[หมวดหมู่:ความผิดพลาดทางการแพทย์]]
{{โครงแพทย์}}
{{โครงแพทย์}}

[[az:Yatrogen]]
[[bg:Ятрогения]]
[[ca:Iatrogènia]]
[[de:Iatrogen]]
[[en:Iatrogenesis]]
[[es:Iatrogenia]]
[[eu:Iatrogenesi]]
[[fa:بیماری‌های یاتروژنیک]]
[[fi:Iatrogeeninen]]
[[fr:Iatrogénèse]]
[[he:יאטרוגני]]
[[it:Iatrogenesi]]
[[ja:医原病]]
[[kk:Ятрогения]]
[[ko:의원성]]
[[nl:Iatrogeen]]
[[no:Iatrogen]]
[[pl:Jatrogenia]]
[[pt:Iatrogenia]]
[[ru:Ятрогения]]
[[sk:Iatrogénne poškodenie]]
[[sr:Јатрогена болест]]
[[sv:Iatrogen]]
[[zh:醫源病]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:49, 10 มีนาคม 2556

โรคหมอทำ[1] (อังกฤษ: iatrogenesis, iatrogenic artifact) เป็นภาวะแทรกซ้อนหรือผลข้างเคียงที่เกิดจากการรักษาหรือคำแนะนำทางการแพทย์จากผู้ใหบริการทางสาธารณสุข ทั้งแพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล นักจิตวิทยา เภสัชกร และบุคลากรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ไม่สำคัญว่าจะเป็นผลที่เกิดจากการแพทย์แผนปัจจุบันเพียงอย่างเดียว การแพทย์ทางเลือกก็มีผลทำให้เกิดโรคหมอทำได้เช่นกัน

ภาวะที่ถูกจัดให้เป็นโรคหมอทำบางอย่างก็มีความชัดเจน เช่นภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัด หรืออาจเห็นได้ไม่ชัดเท่าและจำเป็นต้องได้รับการตรวจเพิ่มเติมจึงจะพิสูจน์ทราบได้เช่นปฏิสัมพันธ์ที่ซับซ้อนของยาหลายๆ ชนิด

สาเหตุของการเกิดภาวะที่ถูกจัดให้เป็นโรคหมอทำ เช่น ความบังเอิญ ความผิดพลาดทางการแพทย์ การละทิ้งการปฏิบัติหน้าที่ การออกแบบอุปกรณ์ที่ไม่ได้รับการตรวจสอบ ความเครียด ฯลฯ

อ้างอิง