ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคลักปิดลักเปิด"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Makecat-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: ar, be, be-x-old, bg, bs, ca, cs, da, de, el, eo, es, eu, fa, fi, fo, fr, fy, ga, he, hi, hr, hu, io, is, it, ja, kk, ko, lt, mk, ml, nl, nn, no, pl, pt, ro, ru, simple, sk, sl, sr, sv, tl, tr, uk, vi, zh
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 29: บรรทัด 29:
[[หมวดหมู่:ภาวะเลือดจางจากการขาดสารอาหาร]]
[[หมวดหมู่:ภาวะเลือดจางจากการขาดสารอาหาร]]
{{โครงการแพทย์}}
{{โครงการแพทย์}}

[[ar:بثع]]
[[be:Цынга]]
[[be-x-old:Шкробут]]
[[bg:Скорбут]]
[[bs:Skorbut]]
[[ca:Escorbut]]
[[cs:Kurděje]]
[[da:Skørbug]]
[[de:Skorbut]]
[[el:Σκορβούτο]]
[[en:Scurvy]]
[[eo:Skorbuto]]
[[es:Escorbuto]]
[[eu:Eskorbuto]]
[[fa:اسکوروی]]
[[fi:Keripukki]]
[[fo:Skyrbjóg]]
[[fr:Scorbut]]
[[fy:Skuorbot]]
[[ga:Scorbach]]
[[he:צפדינה]]
[[hi:स्कर्वी]]
[[hr:Skorbut]]
[[hu:Skorbut]]
[[io:Skorbuto]]
[[is:Skyrbjúgur]]
[[it:Scorbuto]]
[[ja:壊血病]]
[[kk:Қырқұлақ]]
[[ko:괴혈병]]
[[lt:Skorbutas]]
[[mk:Скорбут]]
[[ml:സ്കർവി]]
[[nl:Scheurbuik]]
[[nn:Skjørbuk]]
[[no:Skjørbuk]]
[[pl:Szkorbut]]
[[pt:Escorbuto]]
[[ro:Scorbut]]
[[ru:Цинга]]
[[simple:Scurvy]]
[[sk:Skorbut]]
[[sl:Skorbut]]
[[sr:Скорбут]]
[[sv:Skörbjugg]]
[[tl:Eskorbuto]]
[[tr:İskorbüt]]
[[uk:Цинга]]
[[vi:Scorbut]]
[[zh:壞血病]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:48, 10 มีนาคม 2556

โรคลักปิดลักเปิด
เหงือกโรคลักปิดลักเปิด อาการของโรค สังเกตสีแดงของเหงือกในเหงือกสามเหลี่ยมระหว่างฟัน
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10E54
ICD-9267
OMIM240400
DiseasesDB13930
MedlinePlus000355
eMedicinemed/2086 derm/521 ped/2073 radio/628
MeSHD012614

โรคลักปิดลักเปิด (อังกฤษ: scurvy) เป็นโรคที่เกิดจากการขาดวิตามินซี ซึ่งจำเป็นต่อการสังเคราะห์คอลลาเจนในมนุษย์ ทั้งนี้ ชื่อเคมีของวิตามินซี กรดแอสคอร์บิก มาจากคำว่า scorbutus ในภาษาละติน หรือ scurvy ในภาษาอังกฤษ โรคลักปิดลักเปิดมักแสดงอาการความรู้สึกไม่สบายและภาวะง่วงงุนในระยะเริ่มแรก ตามมาด้วยการเกิดจุดบนผิวหนัง เหงือกยุ่ย และเลือดออกตามเยื่อเมือก จุดดังกล่าวพบมากที่สุดบนต้นขาและขา และบุคคลที่ป่วยเป็นโรคลักปิดลักเปิดจะดูซีด ซึมเศร้า และเคลื่อนไหวไม่ได้บางส่วน เมื่อโรคทวีความรุนแรงขึ้น อาจมีแผลกลัดหนองเปิด สูญเสียฟัน ดีซ่าน ไข้ โรคเส้นประสาท จนถึงเสียชีวิตได้

ครั้งหนึ่ง โรคลักปิดลักเปิดเคยพบมากในหมู่กะลาสี โจรสลัดและผู้ที่ล่องเรือในทะเลนานกว่าที่จะเก็บผักและผลไม้ได้ ซึ่งส่วนใหญ่คนเหล่านี้จะดำรงชีพด้วยเนื้อและธัญพืชที่ถนอมอาหารหรือเติมเกลือแทน และยังพบในหมู่ทหารที่ไม่ได้รับอาหารประเภทนี้เป็นเวลานาน ฮิปพอคราทีส (460-380 ปีก่อน ค.ศ.) เป็นผู้อธิบายโรคนี้ และการรักษาโรคด้วยสมุนไพรเป็นที่รู้จักกันในหลายวัฒนธรรมพื้นเมืองตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ โรคลักปิดลักเปิดเป็นหนึ่งในปัจจัยจำกัดการท่องทะเล มักคร่าชีวิตผู้โดยสารและลูกเรือเป็นจำนวนมากในการเดินทางไกล ๆ และยาวนาน

การรักษาโรคลักเปิดลักเปิดด้วยการให้อาหารสด โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลไม้จำพวกส้ม เป็นคราว ๆ ปฏิบัติสืบต่อกันมาตั้งแต่สมัยโบราณ แต่สาเหตุของโรคลักปิดลักเปิดยังไม่ทราบกันกระทั่ง ค.ศ. 1932 เจมส์ ลินด์ ศัลแพทย์ชาวสก็อตในกองทัพเรืออังกฤษ เป็นผู้แรกที่พิสูจน์ว่าโรคนี้สามารถรักษาได้ด้วยผลไม้พวกส้มในการทดลองที่เขาอธิบายในหนังสือของเขา A Treatise of the Scurvy (ศาสตร์นิพนธ์โรคลักปิดลักเปิด)[1] เขียนเมื่อ ค.ศ. 1753

โรคลักปิดลักเปิดไม่เกิดในสัตว์ส่วนใหญ่ เพราะสัตว์สามารถสังเคราะห์วิตามินซีได้เอง อย่างไรก็ดี มนุษย์และไพรเมตชั้นสูงอื่น ๆ หมูกินี ค้างคาวเกือบทุกชนิด และนกและปลาบางชนิดขาดเอนไซม์ (L-gulonolactone oxidase) ซึ่งจำเป็นต่อการสังเคราะห์วิตามินซีและต้องได้รับจากอาหาร วิตามินซีพบมากในเยื่อพืช และมีความเข้มข้นสูงโดยเฉพาะในผลไม้พวกส้ม (ส้ม เลมอน มะนาว เกรปฟรุต) มะเขือเทศ มันฝรั่ง กะหล่ำปลี และพริกไทยเขียว

อ้างอิง

  1. Lind, James (1753). A Treatise on the Scurvy. London: A. Millar.