ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เวเนรา 3"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Jedimaster (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 30: บรรทัด 30:
[[หมวดหมู่:ภารกิจอวกาศในปี พ.ศ. 2508]]
[[หมวดหมู่:ภารกิจอวกาศในปี พ.ศ. 2508]]
{{โครง}}
{{โครง}}

[[ar:فينيرا 3]]
[[bg:Венера 3]]
[[ca:Venera 3]]
[[cs:Veněra 3]]
[[en:Venera 3]]
[[es:Venera 3]]
[[eu:Venera 3]]
[[fi:Venera 3]]
[[fr:Venera 3]]
[[he:ונרה 3]]
[[hu:Venyera–3]]
[[it:Venera 3]]
[[ja:ベネラ3号]]
[[mk:Венера-3]]
[[nl:Venera 3]]
[[no:Venera 3]]
[[oc:Venera 3]]
[[pl:Wenera 3]]
[[pt:Venera 3]]
[[ru:Венера-3]]
[[sk:Venera-3]]
[[sr:Венера-3]]
[[sv:Venera 3]]
[[uk:Венера-3]]
[[zh:金星3號]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:36, 10 มีนาคม 2556

เวเนรา 3
COSPAR ID1965-092A
SATCAT no.01733แก้ไขบนวิกิสนเทศ
 

เวเนรา 3 (รัสเซีย: Венера-3) เป็นยานอวกาศที่ถูกสร้างและปล่อยขึ้นสู่อวกาศโดยสหภาพโซเวียต เพื่อไปสำรวจพื้นผิวของดาวศุกร์ โดยถูกปล่อยเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2508 จาก Baikonur คาซัคสถาน

ภารกิจของยานอวกาศนี้เพื่อลงจอดบนพื้นผิวของดาวศุกร์ โดยลำตัวมีระบบวิทยุสื่อสาร เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ แหล่งพลังงานไฟฟ้าและมีตราแผ่นดินของสหภาพโซเวียต

ยานอวกาศดังกล่าวลงสู่ดาวศุกร์ด้วยการชนกระแทก เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2509 และกลายเป็นยานอวกาศลำแรกที่ลงจอดบนพื้นผิวของดาวเคราะห์ดวงอื่น ด้านที่ตกนั้นเป็นดาวมืดของดาวศุกร์ ซึ่งพิกัดการลงจอดกระแทกน่าจะอยู่ที่พิกัด -20° to 20° N, 60° to 80° E อย่างไรก็ตาม ระบบสื่อสารของยานได้ล้มเหลวก่อนที่จะมีการส่งข้อมูลใด ๆ กลับมายังโลก

เนื่องจากดาวศุกร์ มีอุณหภูมิประมาณ 500 องศาเซลเซียส ตลอดทั้งกลางวันและกลางคืน ทำให้การลงจอดของยานสำรวจเวเนรารุ่นต่อๆไป ก็ยังเป็นอุปสรรค จนกระทั่ง เวเนร่า 7 ที่ลำตัวของยานเป็นไททาเนี่ยม สามารถลงจอดที่พื้นผิวอย่างนุ่มนวลได้สำเร็จเป็นลำแรกและส่งข้อมูลกลับมายังโลกได้ 23 นาที