ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เม่นทะเล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: war:Echinoidea
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 40: บรรทัด 40:


[[หมวดหมู่:เอไคโนดอร์มาทา]]
[[หมวดหมู่:เอไคโนดอร์มาทา]]

[[af:Ovaalster]]
[[ar:قنفذ البحر]]
[[ast:Equinoidea]]
[[az:Dəniz kirpiləri]]
[[be:Марскія вожыкі]]
[[be-x-old:Марскія вожыкі]]
[[br:Teureug]]
[[bs:Morski ježevi]]
[[ca:Eriçó de mar]]
[[ceb:Tuyom]]
[[cs:Ježovky]]
[[da:Søpindsvin]]
[[de:Seeigel]]
[[el:Αχινός]]
[[en:Sea urchin]]
[[eo:Eĥino]]
[[es:Echinoidea]]
[[et:Merisiilikud]]
[[eu:Itsas triku]]
[[fa:توتیای دریایی]]
[[fi:Merisiilit]]
[[fr:Echinoidea]]
[[ga:Cuán mara]]
[[gl:Ourizo de mar]]
[[he:קיפודי ים]]
[[hi:जलसाही]]
[[hr:Ježinci]]
[[hu:Tengerisünök]]
[[id:Landak laut]]
[[io:Ekino]]
[[is:Ígulker]]
[[it:Echinoidea]]
[[ja:ウニ]]
[[ka:ზღვის ზღარბები]]
[[ko:성게류]]
[[la:Echinoidea]]
[[lt:Jūrų ežiai]]
[[lv:Jūras eži]]
[[mk:Морски ежови]]
[[ml:കടൽച്ചേന]]
[[nl:Zee-egels]]
[[nn:Kråkebolle]]
[[no:Sjøpinnsvin]]
[[nv:Táłtłʼááh adijiłii]]
[[oc:Echinoidea]]
[[pl:Jeżowce]]
[[pt:Echinoidea]]
[[qu:Yaku askanku]]
[[ro:Echinoide]]
[[ru:Морские ежи]]
[[simple:Sea urchin]]
[[sk:Ježovky]]
[[sr:Морски јежеви]]
[[sv:Sjöborrar]]
[[tl:Salungo]]
[[tr:Denizkestanesi]]
[[uk:Морські їжаки]]
[[vi:Cầu gai]]
[[war:Echinoidea]]
[[zh:海膽]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:22, 10 มีนาคม 2556

เอไคนอยด์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Echinodermata
ไฟลัมย่อย: Echinozoa
ชั้น: Echinoidea
Leske, 1778
Subclasses

เม่นทะเล (Sea urchin) เป็นสัตว์ในชั้น เอไคนอยเดีย (Echinoidea)ในไฟลัมเอไคโนดอร์มาทา และอยู่ในกลุ่มเอคไคนอยด์ที่มีสมมาตร อาศัยอยู่ตามพื้นแข็ง มีสีต่างกัน ด้านที่เกาะกับพื้นเป็นปาก ทวารหนักอยู่กลางลำตัว ด้านบนสุด เม่นทะเลจะมีหนามสองขนาด หนามขนาดยาวใช้ในการผลักดันพื้นแข็ง ขุดคุ้ยสิ่งต่างๆหรือช่วยในการฝังตัว หนามเล็กสั้นใช้ยึดเกาะเวลาปีนป่าย เม่นทะเลที่มีพิษจะมีหนามที่กลวงและมีพิษอยู่ภายใน หนามนี้จะแทงทะลุผิวหนังได้ง่าย เมื่อหักจะปล่อยสารพิษออกมา อาหารของเม่นทะเลคือสาหร่าย สัตว์ที่ตายแล้ว และสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่เกาะอยู่กับที่

อ้างอิง

  • บพิธ จารุพันธุ์ และ นันทพร จารุพันธุ์. 2540. สัตววิทยา. กทม. สำนักหิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์