ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เบเนดิกต์แห่งเนอร์เซีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TjBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต เพิ่ม: lv:Nursijas Benedikts
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 45: บรรทัด 45:
{{โครงชีวประวัติ}}
{{โครงชีวประวัติ}}


[[bar:Benedikt vo Nursia]]
[[be:Бенедыкт Нурсійскі]]
[[bg:Бенедикт Нурсийски]]
[[br:Benead Norcia]]
[[bs:Sveti Benedikt]]
[[ca:Benet de Núrsia]]
[[cs:Benedikt z Nursie]]
[[da:Benedikt af Nurcia]]
[[de:Benedikt von Nursia]]
[[el:Βενέδικτος της Νούρσια]]
[[en:Benedict of Nursia]]
[[eo:Benedikto de Nursio]]
[[es:Benito de Nursia]]
[[et:Benedictus]]
[[eu:Benedikto Nursiakoa]]
[[fa:سنت بندیکت، آیووا]]
[[fi:Benedictus Nursialainen]]
[[fo:Bænadikt frá Nursia]]
[[fr:Benoît de Nursie]]
[[fy:Benediktus fan Nursia]]
[[ga:Beinidict ó Nuirsia]]
[[gl:Bieito de Nursia]]
[[he:בנדיקטוס מנורסיה]]
[[hr:Sveti Benedikt]]
[[hu:Nursiai Szent Benedek]]
[[id:Benediktus dari Nursia]]
[[io:Benedictus di Nursia]]
[[is:Benedikt frá Núrsíu]]
[[it:Benedetto da Norcia]]
[[ja:ヌルシアのベネディクトゥス]]
[[ko:누르시아의 베네딕토]]
[[la:Benedictus de Nursia]]
[[lij:San Beneito]]
[[lv:Nursijas Benedikts]]
[[mk:Свети Бенедикт]]
[[ml:നർസിയായിലെ ബെനഡിക്ട്]]
[[nl:Benedictus van Nursia]]
[[no:Benedikt av Nursia]]
[[pl:Benedykt z Nursji]]
[[pt:Bento de Núrsia]]
[[ro:Benedict de Nursia]]
[[ru:Бенедикт Нурсийский]]
[[sc:Benedetto dae Norcia]]
[[scn:San Binidittu di Nurcia]]
[[sh:Sveti Benedikt]]
[[sk:Benedikt z Nursie]]
[[sl:Sveti Benedikt Nursijski]]
[[sq:Shën Benedikti i Nursisë]]
[[sr:Бенедикт Нурсијски]]
[[sv:Benedikt av Nursia]]
[[sw:Benedikto wa Nursia]]
[[ta:நூர்சியாவின் பெனடிக்ட்]]
[[tl:Benito ng Nursia]]
[[tr:Nursialı Benedikt]]
[[uk:Святий Бенедикт]]
[[vec:San Benéto da Norcia]]
[[vi:Biển Đức thành Norcia]]
[[war:Benito han Nursia]]
[[war:Benito han Nursia]]
[[zh:圣本笃]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:11, 10 มีนาคม 2556

นักบุญเบเนดิกต์แห่งเนอร์เซีย
“นักบุญเบเนดิกต์แห่งเนอร์เซีย”
โดย ฟราอันเจลีโก
อธิการอาราม
เกิดราว ค.ศ. 480
เนอร์เซีย ในประเทศอิตาลี
เสียชีวิตราว ค.ศ. 547
มอนเตกัสซีโน ในประเทศอิตาลี
นิกายโรมันคาทอลิก

แองกลิคัน
ลูเทอแรน

อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์
เป็นนักบุญค.ศ. 1220
โดย สมเด็จพระสันตะปาปาโฮโนริอุสที่ 3
วันฉลอง11 กรกฎาคม (ตะวันตก)
14 มีนาคม ไบเซ็นไทน์
สัญลักษณ์กระดิ่ง, ถ้วยแตก, ถ้วยแตกและงู, ถ้วยชามแตก, พุ่มไม้, คทา และอื่นๆ
องค์อุปถัมภ์นักพรตคณะเบเนดิกติน นักเรียน ผู้รับใช้ ผู้ทำถ้วยชามแตก

นักบุญเบเนดิกต์แห่งเนอร์เซีย (อังกฤษ: Benedict of Nursia; อิตาลี: Benedetto da Norcia) เป็นนักบุญในศาสนาคริสต์ เกิดราว ค.ศ. 480 ที่เมืองเนอร์เซีย ในประเทศอิตาลี และเสียชีวิตเมื่อราว ค.ศ. 547 ที่มอนเตกัสซีโนในประเทศอิตาลีเช่นกัน นักบุญเบเนดิกต์[1]เป็นผู้ก่อตั้งชีวิตอารามวาสีแบบคณะเบเนดิกติน และเป็นผู้เขียนวินัยของนักบุญเบเนดิกต์สำหรับเป็นกฎปฏิบัติของนักบวชในอารามในคณะเบเนดิกติน ซึ่งเป็นกฎที่ตั้งต้นด้วย “พระเยซู ... จะนำเราทั้งหมดด้วยกันไปสู่นิรันด์กาล”[2] เบเนดิกตินได้รับการสถาปนาให้เป็นนักบุญในปี ค.ศ. 1220

นักบุญเบเนดิกต์ก่อตั้งชุมนุมนักพรตถึงสิบสองอาราม อารามที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดคืออารามมอนเตกัสซีโนบนเนินเขาในทัสเคนีไม่ไกลจากเซียนา แต่ไม่มีหลักฐานสนับสนุนว่านักบุญเบเนดิกต์ตั้งใจจะก่อตั้งคณะนักบวชคาทอลิกขึ้นมาโดยตรง คณะเบเนดิกตินเป็นคำที่มาใช้กันในภายหลังที่ใช้เรียกชุมนุมนักบวชที่ถือวินัยเบเนดิกติน นอกจากนั้นคำว่า “คณะ” (Order) ที่เข้าใจก็หมายความเพียงว่าเป็นชุมนุมของนักบวชที่เป็นอิสระจากชุมนุมชนอื่น[3]

ความสำเร็จสูงสุดของคณะเบเนดิกตินคือ “วินัยนักบวช” ที่เป็นกฎบัตรสำหรับนักบวชที่ได้รับอิทธิพลอย่างมากจากข้อเขียนของนักบุญจอห์น คาสเซียน (John Cassian) และมีความคล้ายคลึงกับ “Rule of the Master” ที่เขียนโดยผู้ไม่ทราบนามในคริสต์ศตวรรษที่ 6 แต่ก็มีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ในทางสมดุลทางจิตใจ, ความพอประมาณ และความมีเหตุมีผล (επιεικεια, “'epieikeia”) ซึ่งเป็นสิ่งที่เป็นแรงดึงดูดที่ทำให้เกิดการก่อตั้งอารามคณะเบเนดิกตินไปทั่วยุโรปในสมัยกลาง ซึ่งทำให้กฎของคณะเบเนดิกตินเป็นหนึ่งในกฎบัตรของคริสต์ศาสนาในคริสตจักรตะวันตก ฉะนั้นนักบุญเบเนดิกต์จึงได้ชื่อว่าเป็นผู้วางรากฐานของอารามของคริสตจักรตะวันตก

อ้างอิง

  1. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 142
  2. RB 72.12
  3. Called into existence by Pope Leo XIII's Apostolic Brief "Summum semper", 12 July 1893, see OSB-International website

ดูเพิ่ม