ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อันดับสัตว์กินแมลง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: sl:Žužkojedi
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
 
บรรทัด 13: บรรทัด 13:


[[หมวดหมู่:สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม]]
[[หมวดหมู่:สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม]]

[[als:Insektenfresser]]
[[ar:آكلات الحشرات]]
[[az:Cücüyeyənlər]]
[[be:Насякомаедныя]]
[[be-x-old:Мошкаедныя]]
[[bg:Насекомоядни]]
[[br:Insectivora]]
[[bs:Bubojedi]]
[[ca:Insectívor]]
[[cs:Hmyzožravci]]
[[cv:Хурт-кăпшанкă çиекеннисем]]
[[de:Insektenfresser]]
[[en:Insectivora]]
[[eo:Insektomanĝuloj]]
[[es:Insectivora]]
[[et:Putuktoidulised]]
[[eu:Insectivora]]
[[fi:Hyönteissyöjät]]
[[fr:Insectivora]]
[[frr:Insektenfreedern]]
[[fy:Ynsekte-iters]]
[[gl:Insectívoro]]
[[he:אוכלי חרקים]]
[[hr:Kukcojedi]]
[[hu:Rovarevők]]
[[it:Insectivora]]
[[ja:モグラ目]]
[[ka:მწერიჭამიები]]
[[kk:Жәндікқоректілер]]
[[ko:식충목]]
[[koi:Гебсёйиссез]]
[[lb:Insektefrësser]]
[[li:Insekte-eters]]
[[lij:Insectivora]]
[[lt:Vabzdžiaėdžiai]]
[[ml:ഇൻസെക്റ്റിവോറ]]
[[nl:Insecteneters]]
[[no:Insektetere]]
[[nv:Chʼosh Deildeełii]]
[[oc:Insectivora]]
[[pl:Owadożerne]]
[[pt:Insectívoros]]
[[qu:Palama uquq ñuñuq]]
[[ro:Insectivore]]
[[ru:Насекомоядные]]
[[sh:Bubojedi]]
[[simple:Eulipotyphyla]]
[[sk:Hmyzožravce]]
[[sl:Žužkojedi]]
[[sr:Бубоједи]]
[[sv:Äkta insektsätare]]
[[tl:Insectivora]]
[[tr:Böcekçiller]]
[[uk:Комахоїдні]]
[[vi:Bộ Ăn sâu bọ]]
[[zh:食虫目]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 18:10, 10 มีนาคม 2556

เฮดจ์ฮอก (Erinaceus europaeus) จัดเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่เคยถูกจัดให้อยู่ในอันดับนี้

อันดับสัตว์กินแมลง (อันดับ: Insectivora, อ่านออกเสียง /อิน-เซค-ทิ-วอ-รา/, โดยมาจากภาษาละตินคำว่า insectum หมายถึง "แมลง" และ vorare หมายถึง "ไปกิน") เป็นอันดับของสัตว์ที่จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Insectivora

มีลักษณะโดยรวมคือ เป็นสัตว์ขนาดเล็ก กินแมลงเป็นอาหาร มีทั้งพวกที่ออกหากินในเวลากลางวัน และออกหากินในเวลากลางคืน อาศัยอยู่บนพื้นและบนต้นไม้ ยืนด้วยฝ่าเท้า มีสมองส่วนรับกลิ่นเจริญดี แต่สายตาไม่ดี นอกจากกินแมลงแล้วยังอาจจะยังกินสัตว์ที่มีขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร ตัวอย่างเช่น หนูผี, หนูเหม็น, ตุ่น เป็นต้น

สัตว์ในอันดับนี้ ช่วยทำลายศัตรูป่าไม้ ต้นไม้ในป่าจะมีศัตรูตามธรรมชาติเสมอ ๆ เช่น โรคพืชที่จากแมลง เป็นต้น แต่ศัตรูเหล่านี้จะไม่ระบาด โดยเฉพาะแมลงหากมีตัวทำลายสัตว์ป่าหลายชนิดเป็นตัวกำจัดแมลง กินแมลงที่มาทำลายใบ ดอก และผล ตุ่นและหนูผี จะกินหนอนที่มากินรากและลำต้นใต้ดิน

แต่ในปัจจุบัน อันดับนี้ได้ถูกยกเลิกไปแล้วโดยได้แยกออกมาเป็นอันดับต่างหากเอง 5 อันดับ คือ Afrosoricida, Erinaceomorpha, Macroscelidea, Scandentia, Soricomorpha แต่ในบางข้อมูลยังคงจัดเป็นอันดับอยู่[1][2]

อ้างอิง[แก้]

  1. สัตววิทยา (การจัดหมวดหมู่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม), บพิธ-นันทพร จารุพันธุ์, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2547, หน้า 414 - 416
  2. Hutterer, Rainer (16 November 2005). Wilson, Don E., and Reeder, DeeAnn M.. ed. Mammal Species of the World (3rd ed.). Baltimore: Johns Hopkins University Press, 2 vols. (2142 pp.). pp. 220–311. ISBN 978-0-8018-8221-0. OCLC 62265494. http://www.bucknell.edu/msw3.