ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อบเชย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: fi:Kaneli
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 68 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q28165 (translate me)
บรรทัด 35: บรรทัด 35:
{{โครงพืช}}
{{โครงพืช}}


[[af:Kaneel]]
[[ang:Ofersǣwisc rind]]
[[ar:قرفة]]
[[arz:قرفه]]
[[az:Darçın]]
[[bg:Канела]]
[[bn:দারুচিনি]]
[[br:Kanell (temz)]]
[[bs:Cimet]]
[[ca:Canyella (espècia)]]
[[ceb:Kanela]]
[[cs:Skořice]]
[[da:Kanel]]
[[de:Zimt]]
[[el:Κανέλα]]
[[en:Cinnamon]]
[[eo:Cinamo]]
[[es:Cinnamomum verum]]
[[et:Kaneel]]
[[fa:دارچین]]
[[fi:Kaneli]]
[[fr:Cannelle (écorce)]]
[[frr:Kaneel]]
[[fy:Kaniel]]
[[gd:Caineal]]
[[gl:Canela]]
[[he:קינמון]]
[[hi:दालचीनी]]
[[hr:Cimet]]
[[hu:Fahéjfa]]
[[hu:Fahéjfa]]
[[id:Kulit kayu manis]]
[[io:Cinamo]]
[[is:Kanill]]
[[it:Cinnamomum zeylanicum]]
[[ja:シナモン]]
[[kn:ದಾಲ್ಚಿನ್ನಿ]]
[[ko:실론계피나무]]
[[la:Cinnamum]]
[[lb:Kanéil]]
[[lt:Cinamonas]]
[[lv:Kanēlis]]
[[ml:കറുവ]]
[[my:သစ်ကြံပိုးပင်]]
[[ne:दालचिनी]]
[[nl:Kaneel]]
[[nn:Kaneltre]]
[[no:Kanel]]
[[nrm:Cannelle]]
[[pl:Cynamonowiec cejloński]]
[[pt:Canela]]
[[qu:Kanila sach'a]]
[[ro:Scorțișoară]]
[[ru:Корица (пряность)]]
[[sa:वराङ्गम्]]
[[simple:Cinnamon]]
[[sk:Škorica]]
[[sl:Cimet]]
[[sq:Kanella]]
[[sr:Цимет]]
[[sv:Kanel]]
[[ta:கறுவா]]
[[te:దాల్చిన చెక్క]]
[[tl:Kanela]]
[[uk:Кориця]]
[[ur:دارچینی]]
[[vls:Kanêel]]
[[yi:צימערינג]]
[[zh:桂皮]]
[[zh-min-nan:Ceylon jio̍k-kùi]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:42, 10 มีนาคม 2556

อบเชย
ใบและดอกของต้นอบเชย
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
หมวด: Magnoliophyta
ชั้น: Magnoliopsida
อันดับ: Laurales
วงศ์: Lauraceae
สกุล: Cinnamomum
สปีชีส์: C.  verum
ชื่อทวินาม
Cinnamomum verum
J.Presl

อบเชย (อังกฤษ: cinnamon) เป็นเครื่องเทศที่มีกลิ่นหอม ได้มาจากเปลือกไม้ชั้นในที่แห้งแล้วของต้นอบเชย แท่งอบเชยมีสีน้ำตาลแดง มีลักษณะเหมือนแผ่นไม้แห้งที่หดงอหลังจากโดนความชื้น มักจะเรียกตามแหล่งเพาะปลูกเช่น อบเชยจีน อบเชยลังกา อบเชยญวน เป็นต้น ในประเทศไทยไม่นิยมปลูกเพราะภูมิอากาศไม่เหมาะสม

ลักษณะทั่วไปเป็นไม้ยืนต้น ตัวต้นจะสูงประมาณ 4 - 10 เมตร ส่วนเปลือกและใบมีกลิ่นหอมเฉพาะตัว ใบมีลักษณะเป็นใบเดี่ยวเรียงตรงข้ามกัน เส้นใบหยัก 3 เส้น เวลาออกดอกจะออกที่บริเวณซอกใบ หรือปลายกิ่ง โดยออกดอกย่อยสีเหลืองอ่อนรวมกันเป็นช่อ พืชที่อยู่ในตระกูลเดียวกับอบเชย ได้แก่ ชะเอม กะเพราต้น ข่าต้น สมุลแว้ง การบูร เทพทาโร

การใช้ประโยชน์

นิยมใช้อบเชยในการทำเครื่องแกงเช่น พริกแกงกะหรี่ประเภทผัดที่ใช้ผงกะหรี่ ใช้เป็นไส้กะหรี่ปั๊ป หรือใช้ร่วมกับโป๊ยกั้กในอาหารคาวประเภทต้มเช่น พะโล้และเนื้อตุ๋น ส่วนในประเทศแถบตะวันตก มักใส่อบเชยในของหวาน เช่น ซินนามอนโรลล์ ใช้ผงอบเชยละเอียดโรยหน้ากาแฟใส่นม ใช้ผงอบเชยกับน้ำตาลโรยหน้าเพรตเซล และนอกจากนี้ยังมีลูกอม หมากฝรั่ง และยาสีฟันรสอบเชยอีกด้วย

เปลือกอบเชย

อบเชยมีสรรพคุณทางยา เนื่องจากมีแทนนินสูงที่ให้รสฝาดจึงนิยมใช้ในยาตำรับแผนโบราณเช่น เป็นส่วนผสมในยาหอมต่าง ๆ โดยใช้ส่วนของเปลือกลำต้น ใช้ในการแก้จุกเสียด แน่นท้อง หรือใช้ในการทำยานัตถุ์ใช้สูดดม เพื่อเพิ่มความสดชื่น ลดอาการอ่อนเพลีย แก้โรคท้องร่วงเพราะมีส่วนช่วยต้านแบคทีเรียในกระเพาะอาหาร ขับปัสสาวะ ช่วยในการย่อยอาหาร และสลายไขมัน ส่วนเปลือกลำต้นอายุมากกว่า 6 ปี หรือใบกิ่งยังนำมาสกัดน้ำมันหอมระเหยได้อีกด้วย ซึ่งจะมีมากในอบเชยญวนที่ให้น้ำมันหอมระเหย 2.5%

น้ำมันสกัดจากเปลือกของต้นอบเชยที่ความเข้มข้น 40 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตรยับยั้งการเจริญของ Streptococcus iniae ในอาหารเลี้ยงเชื้อได้ โดยสารออกฤทธิ์ที่มีส่วนสาคัญต่อการยับยั้งการเจริญของ S. iniae คือ cinnamaldehyde ปลานิลที่เลี้ยงด้วยอาหารที่ผสมด้วยน้ามันสกัดจากต้นอบเชยในอัตราส่วน 0.4% (w/w) ตายเนื่องจากการติดเชื้อ S. niae น้อยลง[1]

อ้างอิง

  • นิตยสารแม่บ้าน ปีที่ 31 ฉบับที่ 451, ธันวาคม 2549, หน้า 55
  1. พงศ์ศักดิ์ รัตนชัยกุลโสภณ และ ปาริชาติ พุ่มขจร. 2553. การใช้สมุนไพรในการป้องกันและรักษาโรคในปลา วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีที่12 ฉบับที่4 กรกฎาคม 2553 63 -71