ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รถราง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: sh:Tramvaj
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 32: บรรทัด 32:
{{Link FA|bg}}
{{Link FA|bg}}
{{Link FA|hu}}
{{Link FA|hu}}

[[ab:Атрамваи]]
[[af:Trem]]
[[an:Tramvía]]
[[ar:ترام]]
[[bat-smg:Tramvajos]]
[[be:Трамвай]]
[[be-x-old:Трамвай]]
[[bg:Трамвай]]
[[bn:ট্রাম]]
[[br:Tramgarr]]
[[ca:Tramvia]]
[[cs:Tramvaj]]
[[da:Sporvogn]]
[[de:Straßenbahn]]
[[el:Τραμ]]
[[en:Tram]]
[[eo:Tramo]]
[[es:Tranvía]]
[[et:Tramm]]
[[eu:Tranbia]]
[[fa:تراموا]]
[[fi:Raitioliikenne]]
[[fr:Tramway]]
[[fy:Tram]]
[[ga:Tram]]
[[gl:Tranvía]]
[[hr:Tramvaj]]
[[hu:Villamos]]
[[id:Trem]]
[[io:Tramveturo]]
[[it:Tram]]
[[ja:路面電車]]
[[jv:Trèm]]
[[ka:ტრამვაი]]
[[kk:Трамвай]]
[[ko:노면 전차]]
[[ksh:Kaläkktrische]]
[[ku:Tramvay]]
[[ky:Трамвай]]
[[la:Ferrivia strataria]]
[[lad:Tramvay]]
[[lb:Tram]]
[[lmo:Tram]]
[[lt:Tramvajus]]
[[lv:Tramvajs]]
[[ml:ട്രാം]]
[[nl:Tram]]
[[nn:Sporvogn]]
[[no:Sporvei]]
[[oc:Tramvia]]
[[pap:Tram]]
[[pl:Tramwaj]]
[[ps:ټرام]]
[[pt:Elétrico]]
[[ro:Tramvai]]
[[ru:Трамвай]]
[[sh:Tramvaj]]
[[simple:Tram]]
[[sk:Električka]]
[[sl:Tramvaj]]
[[sr:Трамвај]]
[[sv:Spårväg]]
[[szl:Sztrasbana]]
[[ta:அமிழ் தண்டூர்தி]]
[[tl:Trambiya]]
[[tr:Tramvay]]
[[tt:Tramway]]
[[uk:Трамвай]]
[[ur:ٹرام وے]]
[[uz:Tramvay]]
[[vi:Tàu điện]]
[[wuu:电车]]
[[yi:טראמוויי]]
[[zea:Tram]]
[[zh:有軌電車]]
[[zh-min-nan:Chhia-lō͘ tiān-chhia]]
[[zh-yue:電車]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:01, 9 มีนาคม 2556

ถนนบางสายอนุญาตให้แค่รถรางวิ่งเท่านั้น แต่สามารถเข้าถึงได้ง่ายมาก
ป้ายเตือนผู้ขี่จักรยานให้ระวังร่องของรถราง

รถราง (อังกฤษ: tram) เป็นพาหนะที่วิ่งบนรางชนิดหนึ่ง มีลักษณะคล้ายรถไฟแต่จะสั้นกว่าและมีน้ำหนักเบากว่า รถรางส่วนมากใช้ไฟฟ้าจากสายไฟด้านบน (pantograph) แต่ก็ยังมีบางส่วนใช้ดีเซลอยู่ ในปัจจุบันนิยมนับรถรางเป็นประเภทหนึ่งของรถไฟฟ้ารางเบาด้วย (light rail)

ในอดีตประเทศไทยก็เคยมีการใช้รถรางช่วงปี พ.ศ. 2448 จนถึงปี พ.ศ. 2511 ซึ่งยกเลิกการเดินรถทุกเส้นทางอย่างถาวร[1]

คำว่า "รถราง" ในภาษาไทยปัจจุบัน ถูกใช้ในความหมายของ รถชมเมืองที่วิ่งโดยไม่ใช้ราง แต่ด้วยล้ออีกด้วย

ข้อดี

  • ไม่ปล่อยมลพิษเพราะใช้ไฟฟ้า มลภาวะทางเสียงน้อยกว่า
  • สามารถเข้าถึงสถานีรถรางได้ง่ายกว่าการคมนาคมประเภทอื่น ๆ เช่น รถไฟใต้ดิน เพราะอยู่กลางถนน
  • ใช้ราง เวลานั่งจึงรู้สึกสบายกว่ารถเมล์ที่กระเด้งมากกว่า
  • มีประสิทธิภาพทางพลังงานสูงกว่าขนส่งมวลชนประเภทอื่น ๆ และค่าใช้จ่ายน้อยกว่า

ข้อเสีย

  • กินพื้นที่ถนนบางส่วน
  • ทุนตั้งต้นสูงกว่ารถเมล์ (ถึงแม้ว่าในระยะยาวจะประหยัดมากกว่า)
  • สำหรับผู้ที่ขี่จักรยาน ล้ออาจติดอยู่ในร่องของรถรางได้

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA