ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุทธการที่โมฮาช"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Makecat-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.5) (โรบอต เพิ่ม: la:Pugna Mohacsensis (1526)
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 44: บรรทัด 44:
{{โครงประวัติศาสตร์}}
{{โครงประวัติศาสตร์}}


[[af:Slag van Mohács]]
[[als:Schlacht bei Mohács (1526)]]
[[ar:معركة موهاج]]
[[az:Moxaç döyüşü (1526)]]
[[bg:Битка при Мохач (1526)]]
[[bs:Mohačka bitka]]
[[ca:Batalla de Mohács (1526)]]
[[cs:Bitva u Moháče]]
[[da:Slaget ved Mohács]]
[[de:Schlacht bei Mohács (1526)]]
[[el:Μάχη του Μοχάτς]]
[[en:Battle of Mohács]]
[[eo:Batalo de Mohács]]
[[es:Batalla de Mohács]]
[[et:Mohácsi lahing]]
[[fa:نبرد موهاچ]]
[[fi:Mohácsin taistelu]]
[[fr:Bataille de Mohács (1526)]]
[[he:קרב מוהאץ']]
[[hr:Mohačka bitka]]
[[hu:Mohácsi csata]]
[[id:Pertempuran Mohács]]
[[it:Battaglia di Mohács (1526)]]
[[ja:モハーチの戦い]]
[[ka:მოჰაჩის ბრძოლა (1526)]]
[[ka:მოჰაჩის ბრძოლა (1526)]]
[[ko:모하치 전투]]
[[la:Pugna Mohacsensis (1526)]]
[[lt:Mohačo mūšis]]
[[mk:Мохачка битка (1526)]]
[[ms:Pertempuran Mohács]]
[[nl:Slag bij Mohács (1526)]]
[[no:Slaget ved Mohács (1526)]]
[[nrm:Batâle dé Mohács (1526)]]
[[pl:Bitwa pod Mohaczem]]
[[pt:Batalha de Mohács]]
[[ro:Bătălia de la Mohács (1526)]]
[[ru:Битва при Мохаче (1526)]]
[[sh:Mohačka bitka]]
[[sk:Bitka pri Moháči (1526)]]
[[sl:Bitka pri Mohaču]]
[[sr:Мохачка битка]]
[[sv:Slaget vid Mohács (1526)]]
[[tr:Mohaç Muharebesi (1526)]]
[[uk:Битва при Могачі (1526)]]
[[vi:Trận Mohács (1526)]]
[[zh:第一次摩哈赤战役]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:50, 9 มีนาคม 2556

Battle of Mohács
ส่วนหนึ่งของ the สงครามออตโตมันในยุโรป and สงครามออตโตมัน-ฮังการี

ยุทธการโมเฮ็คส์ ค.ศ. 1526 โดย Bertalan Székely
วันที่29 สิงหาคม ค.ศ. 1526
สถานที่
ผล ออตโตมันได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาด; การสิ้นสุดของสงครามออตโตมัน-ฮังการี, การเริ่มสงครามออตโตมัน-ฮับส์บวร์ก
คู่สงคราม
 จักรวรรดิออตโตมัน ราชอาณาจักรฮังการี
โครเอเชีย
ราชอาณาจักรโบฮีเมีย
 จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
อาณาจักรพระสันตะปาปา
ราชอาณาจักรโปแลนด์
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
สุลต่านสุลัยมาน พระเจ้าหลุยส์ที่ 2 แห่งฮังการี
Pál Tomori
György Zápolya
กำลัง

~55,000-65,000 คน[1][2]

  • 45,000 คน (ประจำการ)
  • 10,000 คน (นอกประจำการ)
  • ปืนใหญ่ 160 กระบอก[3][4]
~35,000-40,000 คน (ตามความเป็นจริง 26,000 คน) [1][2]
ปืนใหญ่ (เริ่มด้วย 85 กระบอก)
ปืนไฟ
ยาโนส ซาโพลไย[5][6]
พร้อมกับทหาร 10,000 คน
ฟรานซิส คริสต์โตเฟอร์
พร้อมกับทหาร 5,000 คน
ทหารโบฮีเมียมาถึงสนามรบไม่ทัน
ความสูญเสีย
1,500 คน[1][2] ~ 14,000 - 20,000 คน[1][2]

ยุทธการโมเฮ็คส์ (ฮังการี: mohácsi csata or mohácsi vész, ตุรกี: Mohaç savaşı or Mohaç meydan savaşı, อังกฤษ: Battle of Mohács) เป็นยุทธการที่เกิดขึ้นที่โมเฮ็คส์ทางใต้ของบูดาเปสต์ในฮังการีปัจจุบันเมื่อวันที่29 สิงหาคม ค.ศ. 1526 ระหว่างจักรวรรดิออตโตมันที่นำโดยสุลต่านสุลัยมานฝ่ายหนึ่ง และราชอาณาจักรฮังการีที่นำโดยพระเจ้าหลุยส์ที่ 2 แห่งฮังการี, โครเอเชีย, ราชอาณาจักรโบฮีเมีย, จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์, อาณาจักรพระสันตะปาปา และ ราชอาณาจักรโปแลนด์อีกฝ่ายหนึ่ง ผลของสงครามฝ่ายออตโตมันได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาดและเป็นการนำมาซึ่งความสิ้นสุดของสงครามออตโตมัน-ฮังการี แต่เป็นการเริ่มสงครามออตโตมัน-ฮับส์บวร์ก ชัยชนะครั้งนี้ทำให้ฮังการีถูกแบ่งแยกระหว่างจักรวรรดิออตโตมัน, ราชวงศ์ฮับส์บวร์กแห่งออสเตรีย และราชรัฐทรานสซิลเวเนีย อยู่หลายสิบปี การเสด็จสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าหลุยส์ที่ 2 แห่งฮังการีขณะที่กำลังพยายามหลบหนีจากสนามรบเป็นการสิ้นสุดของราชวงศ์ Jagiellon dynasty ที่สิทธิในราชบัลลังก์ถูกผนวกเข้ากับราชวงศ์ฮับส์บวร์กโดยการเสกสมรสของพระขนิษฐาของพระเจ้าหลุยส์ที่ 2

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 Turner & Corvisier & Childs, A Dictionary of Military History and the Art of War, pp. 365–366 "In 1526, at the battle of Mohács, the Hungarian army was destroyed by the Turks. King Louis II died, along with 7 bishops, 28 barons and most of his army (4,000 cavalry and 10,000 infantry)."
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 Minahan, James B. One Europe, many nations: a historical dictionary of European national groups, Greenwood Press, 2000.
  3. Stavrianos, L.S. Balkans Since 1453, C. Hurst & Co. Publishers, 2000
  4. Nicolle, David, Hungary and the fall of Eastern Europe, 1000-1568, Osprey Publishing, 1988.
  5. The nobleman arrived late in the day and retreated to claim the throne,
  6. Stephen, Turnbull (2003). The Ottoman Empire 1326 - 1699. New York: Osprey. p. 49.

ดูเพิ่ม