ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุทธการที่ดันบาร์ (ค.ศ. 1650)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2+) (โรบอต เพิ่ม: es:Batalla de Dunbar (1650)
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 37: บรรทัด 37:
[[หมวดหมู่:สงครามเกี่ยวข้องกับสกอตแลนด์]]
[[หมวดหมู่:สงครามเกี่ยวข้องกับสกอตแลนด์]]
{{เรียงลำดับ|ยุทธการดันบาร์ (ค.ศ. 1650)}}
{{เรียงลำดับ|ยุทธการดันบาร์ (ค.ศ. 1650)}}

[[en:Battle of Dunbar (1650)]]
[[es:Batalla de Dunbar (1650)]]
[[fr:Bataille de Dunbar (1650)]]
[[it:Battaglia di Dunbar (1650)]]
[[pl:Bitwa pod Dunbar (1650)]]
[[ru:Битва при Данбаре]]
[[sv:Slaget vid Dunbar (1650)]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:49, 9 มีนาคม 2556

ยุทธการดันบาร์ (ค.ศ. 1650)
ส่วนหนึ่งของ สงครามสามอาณาจักรในสกอตแลนด์

“ครอมเวลล์ที่ดันบาร์” โดยแอนดรูว์ คาร์ริค เกาว์
วันที่3 กันยายน ค.ศ. 1650
สถานที่
ดันบาร์, สกอตแลนด์
ผล ฝ่ายรัฐสภาอังกฤษได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาด
คู่สงคราม
กลุ่มพันธสัญญาสกอตแลนด์ ฝ่ายรัฐสภาอังกฤษ
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
เดวิด เลสลี ลอร์ดนิวอาร์ค โอลิเวอร์ ครอมเวลล์
กำลัง
14,000 (~9500 ทหารราบ, ~4500 ทหารม้า), ปืนใหญ่ 9 กระบอก[1] 11,000 (~7500 ทหารราบ, ~3500 ทหารม้า) ไม่นับปืนใหญ่[2]
ความสูญเสีย
เสียชีวิต 3000 คน
ถูกจับเป็นเชลย 10000 คน
เสียชีวิต 20 คน
บาดเจ็บ 58 คน

ยุทธการดันบาร์ (ค.ศ. 1650) (อังกฤษ: Battle of Dunbar (1650)) ยุทธการดันบาร์เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1650 ที่ดันบาร์ในสกอตแลนด์และเป็นยุทธการในสงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 3 ที่ฝ่ายรัฐสภาที่นำโดยโอลิเวอร์ ครอมเวลล์ได้รับชัยชนะต่อกองทัพสกอตแลนด์ที่นำโดยเดวิด เลสลี ลอร์ดนิวอาร์ค (David Leslie, Lord Newark) ที่มีความจงรักภักดีต่อสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษผู้ได้รับการสถาปนาให้เป็นพระมหากษัตริย์ของสกอตแลนด์เมื่อวันที่5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1649

อ้างอิง

  1. Turner, Graham - Dunbar 1650, Cromwell's Most Famous Victory, Osprey Publishing 2004, page 40
  2. Turner, Graham - Dunbar 1650, Cromwell's Most Famous Victory, Osprey Publishing 2004, page 41

ดูเพิ่ม