ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยาสูบ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มหมวดหมู่
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
[[หมวดหมู่:ยาสูบ]]
[[หมวดหมู่:ยาสูบ]]


[[als:Tabak]]
[[an:Tabaco]]
[[ang:Pīpwēod]]
[[ar:تبغ]]
[[ast:Tabacu]]
[[bat-smg:Taboks]]
[[be-x-old:Тытунь]]
[[bg:Тютюн]]
[[bn:তামাক]]
[[bs:Duhan]]
[[ca:Tabac]]
[[cs:Tabák]]
[[cy:Tybaco]]
[[da:Tobak]]
[[da:Tobak]]
[[de:Tabak]]
[[el:Καπνός (φυτό)]]
[[en:Tobacco]]
[[eo:Tabako]]
[[es:Tabaco]]
[[et:Tubakas (aine)]]
[[fa:تنباکو]]
[[fi:Tupakka]]
[[fiu-vro:Tubak]]
[[fr:Tabac]]
[[fy:Tabak]]
[[ga:Tobac]]
[[gl:Tabaco]]
[[he:טבק]]
[[hr:Duhan]]
[[hu:Dohány]]
[[id:Tembakau]]
[[is:Tóbak]]
[[it:Tabacco]]
[[ja:タバコ]]
[[jv:Tembako]]
[[ka:თამბაქო]]
[[ko:담배 (식물)]]
[[la:Tabacum]]
[[lb:Tubak]]
[[lt:Tabakas]]
[[lv:Tabaka]]
[[mk:Тутун]]
[[ml:പുകയില]]
[[mr:तंबाखू]]
[[ms:Tembakau]]
[[nah:Piciyetl]]
[[nl:Tabak]]
[[nn:Tobakk]]
[[no:Tobakk]]
[[nrm:P'tun]]
[[pdc:Duwack]]
[[pl:Tytoń]]
[[pl:Tytoń]]
[[pnb:تماکھو]]
[[pt:Tabaco]]
[[ro:Tutun]]
[[ru:Табак]]
[[sh:Duhan]]
[[si:දුම්කොළ]]
[[simple:Tobacco]]
[[sk:Tabak (produkt)]]
[[sq:Duhani]]
[[sr:Дуван]]
[[su:Bako]]
[[sv:Tobak]]
[[ta:புகையிலை]]
[[te:పొగాకు]]
[[tl:Tabako]]
[[tr:Tütün]]
[[uk:Тютюн]]
[[vi:Thuốc lá (nông phẩm)]]
[[vls:Toebak]]
[[war:Tabakò]]
[[yi:טאבאק]]
[[zh:烟草]]
[[zh-min-nan:Hun-chháu]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:46, 9 มีนาคม 2556

ยาสูบ เป็นผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่ผลิตจากใบของต้นยาสูบ ยาสูบสามารถรับประทานได้ ใช้ในสารกำจัดศัตรูพืชชีวภาพ และเป็นส่วนประกอบของยาบางชนิดในรูปของนิโคตินตาร์เตรด[1] แต่ส่วนใหญ่แล้วยาสูบจะถูกใช้เป็นสารที่สร้างความสนุกสนาน และเป็นผลผลิตที่สร้างรายได้มากต่อประเทศ อย่างเช่น คิวบา จีน และสหรัฐอเมริกา

การได้รับยาสูบมักพบในรูปของการสูบ การเคี้ยว การสูดกลิ่นหรือยาเส้นชนิดชื้อนหรือสนูส ยาสูบได้มีประวัติการใช้เป็นเอ็นโธรเจนมาอย่างยาวนานในทวีปอเมริกา อย่างไรก็ตาม การมาถึงของชาวยุโรปในทวีปอเมริกาเหนือ ได้ทำให้ยาสูบกลายมาเป็นสินค้าที่ได้รับความนิยมและถูกใช้เป็นสารสร้างความสนุกสนานอย่างรวดเร็ว ความเป็นที่นิยมดังกล่าวทำให้ยาสูบเป็นสินค้าหลักในพัฒนาการทางเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาตอนใต้ ก่อนที่จะเปลี่ยนเป็นฝ้ายในเวลาต่อมา หลังจากสงครามกลางเมืองอเมริกา ความเปลี่ยนแปลงในอุปทานและกำลังแรงงานทำให้ยาสูบสามารถผลิตเป็นบุหรี่ได้ ผลิตภัณฑ์ใหม่นี้ได้นำไปสู่การเติบโตของบริษัทบุหรี่หลายบริษัทอย่างรวดเร็ว จนกระทั่งการค้นพบผลเสียของยาสูบที่เป็นข้อถกเถียงทางวิทยาศาตร์ในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1900

เนื่องจากยาสูบมีส่วนประกอบที่ทำให้เกิดการเสพติด ได้แก่ นิโคติน ทำให้เกิดความชินยาและโรคติดสารเสพติด ปริมาณนิโคตินที่ร่างกายได้รับ ตลอดจนความถี่และความเร็วของการบริโภคยาสูบเชื่อกันว่ามีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับความต้านทานทางชีวภาพของการติดและความชินยา[2][3] คาดการณ์ว่าประชากรลาว 1,100 ล้านคนทั่วโลกมีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาสูบ ซึ่งคิดเป็นกว่าหนึ่งในสามของประชากรผู้ใหญ่ของโลก องค์การอนามัยโลกรายงานว่า การใช้ยาสูบอาจนำไปสู่สาเหตุการเสียชีวิตที่สามารถป้องกันได้ทั่วโลก และประมาณการว่ามีประชากรโลก 5.4 ล้านคนเสียชีวิตทุกปี[4] อัตราการสูบพบว่ามีน้อยลงในประเทศพัฒนาแล้ว แต่กลับพบว่ายังมีสูงในประเทศกำลังพัฒนา

อ้างอิง

  1. [1]
  2. "Tobacco Facts - Why is Tobacco So Addictive?". Tobaccofacts.org. สืบค้นเมื่อ 2008-09-18.
  3. "Philip Morris Information Sheet". Stanford.edu. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-04-05. สืบค้นเมื่อ 2008-09-18.
  4. "WHO Report on the global tobacco epidemic, 2008 (foreword and summary)" (PDF). World Health Organization. 2008: 8. Tobacco is the single most preventable cause of death in the world today. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)