ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มะลิลา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Courcelles (คุย | ส่วนร่วม)
File renamed: File:My Garden Flower 10.JPGFile:Arabian jasmin, Tunisia 2010.jpg File renaming criterion #2: Change from completely meaningless names into suitable names, according to what the...
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 63: บรรทัด 63:
{{โครงพืช}}
{{โครงพืช}}


[[ar:فل]]
[[bn:বেলি ফুল]]
[[zh-min-nan:Ba̍k-nī]]
[[id:Melati putih]]
[[de:Arabischer Jasmin]]
[[en:Jasminum sambac]]
[[nl:Arabische jasmijn]]
[[ja:マツリカ]]
[[pl:Jaśminek wielkolistny]]
[[pl:Jaśminek wielkolistny]]
[[sv:Arabisk jasmin]]
[[tl:Sampagita]]
[[war:Marol]]
[[zh:双瓣茉莉]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:13, 9 มีนาคม 2556

มะลิลา
มะลิลา
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
หมวด: Magnoliophyta
ชั้น: Magnoliopsida
อันดับ: Scrophulariales
วงศ์: Oleaceae
สกุล: Jasminum
สปีชีส์: J.  sambac
ชื่อทวินาม
Jasminum sambac
(L.) Aiton

มะลิลา หรือ มะลิซ้อน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Jasminum sambac) ในชื่อภาษาอังกฤษว่า Arabian jasmine เป็นไม้พุ่มกึ่งเลื้อย สูง 15-25 ซม. ใบออกตรงข้าม รูปไข่กว้าง 3.5 - 4.5 ซม. ยาว 4-7 ซม. ปลายแหลม โคนมน ก้านใบสั้น มี 3 ใบใน 1 ข้อ ดอกสีขาว กลิ่นหอมแรง ออกเดี่ยวหรือออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ใช้ทำเป็นน้ำลอยมะลิ ใช้ทำเป็นขนมไทย[1]

มะลิลามีชื่อพื้นเมืองอื่นอีกดังนี้: ข้าวแตก (เงี้ยว แม่ฮ่องสอน) เตียมูน (ละว้า เชียงใหม่) มะลิ (กลาง) มะลิขี้ไก่ (เชียงใหม่) มะลิซ้อน (กลาง) มะลิป้อม (เหนือ) มะลิลา (กทม.,กลาง) และ มะลิหลวง (แม่ฮ่องสอน) [2]

มะลิซ้อน

มะลิลาและมะลิซ้อนเป็นพืชชนิดเดียวกันแต่เป็นคนละรูปแบบ สังเกตได้จากดอกที่มีความแตกต่างอย่างชัดเจน[2]

Jasminum sambac cultivars
'Maid of Orleans'
'Grand Duke of Tuscany'

เกร็ดน่ารู้

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. เสาวลักษณ์ สุขสมัย. เสน่ห์ไม้ไทย. กทม. มติชน.2539
  2. 2.0 2.1 เต็ม สมิตินันทน์ ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, พ.ศ. 2549

แหล่งข้อมูลอื่น