ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟังก์ชันเป็นคาบ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZéroBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: sr:Периодичност функције
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 27: บรรทัด 27:
[[หมวดหมู่:การวิเคราะห์ฟูริเยร์]]
[[หมวดหมู่:การวิเคราะห์ฟูริเยร์]]
[[หมวดหมู่:ฟังก์ชันและการจับคู่]]
[[หมวดหมู่:ฟังก์ชันและการจับคู่]]

[[ar:دالة دورية]]
[[az:Rəqsi hərəkət]]
[[ca:Funció periòdica]]
[[cs:Periodická funkce]]
[[da:Svingningstid]]
[[de:Periodizität (Mathematik)]]
[[el:Περιοδική συνάρτηση]]
[[en:Periodic function]]
[[eo:Perioda funkcio]]
[[es:Función periódica]]
[[eu:Funtzio periodiko]]
[[fa:تابع متناوب]]
[[fi:Jaksollinen funktio]]
[[fr:Fonction périodique]]
[[gl:Función periódica]]
[[he:פונקציה מחזורית]]
[[it:Funzione periodica]]
[[ja:周期関数]]
[[kk:Периодты функция]]
[[ko:주기함수]]
[[lv:Periodiska funkcija]]
[[ms:Gerakan berkala]]
[[nl:Periodieke functie]]
[[nn:Periodisk funksjon]]
[[no:Periodisk funksjon]]
[[pl:Funkcja okresowa]]
[[pms:Fonsion periòdica]]
[[pt:Função periódica]]
[[ro:Funcție periodică]]
[[ru:Периодическая функция]]
[[simple:Periodic function]]
[[sk:Periodická funkcia]]
[[sl:Periodična funkcija]]
[[sr:Периодичност функције]]
[[su:Fungsi périodik]]
[[sv:Periodisk funktion]]
[[tr:Periyodik fonksiyon]]
[[uk:Періодична функція]]
[[ur:معیادی دالہ]]
[[zh:周期函数]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:07, 9 มีนาคม 2556

ฟังก์ชันเป็นคาบ (periodic function) ในทางคณิตศาสตร์หมายถึงฟังก์ชันที่ให้ผลลัพธ์ออกมาเป็นค่าที่ซ้ำกัน บนช่วงจำกัดหนึ่งๆ เรียกว่า คาบ ซึ่งบวกเข้ากับตัวแปรต้น ตัวอย่างในชีวิตประจำวันจะสามารถเห็นได้จากตัวแปรต้นที่เป็นเวลา เช่นเข็มนาฬิกาหรือข้างขึ้นข้างแรมของดวงจันทร์ จะแสดงพฤติกรรมที่ซ้ำกันเป็นช่วงๆ

นิยาม

สำหรับฟังก์ชันบนจำนวนจริงหรือจำนวนเต็มที่ให้ค่าซ้ำกันเป็นช่วงๆ นั่นหมายความว่ากราฟทั้งหมดของฟังก์ชันนั้นสามารถวาดได้จากการคัดลอกกราฟในช่วงที่ซ้ำกันต่อไปเรื่อยๆ หรือในทางที่เจาะจงกว่านี้ ฟังก์ชัน f จะเรียกว่าฟังก์ชันเป็นคาบ บนทุกๆ คาบ P ที่มากกว่าศูนย์ เมื่อ

สำหรับทุกค่าของ x ที่อยู่ในโดเมนของ f

และเมื่อ f เป็นฟังก์ชันเป็นคาบแล้ว จะได้

สำหรับทุกค่าของ n ที่เป็นจำนวนเต็ม

ตัวอย่าง

กราฟของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์

จากนิยามข้างต้น หากค่า P เท่ากับ 1 จะได้

และเนื่องจากคาบของฟังก์ชันไม่จำเป็นต้องเป็นค่าที่น้อยที่สุด ดังนั้นค่า P สามารถเท่ากับ 2 ก็ได้

อีกตัวอย่างหนึ่งสามารถสังเกตได้จากฟังก์ชัน f ที่ให้ผลลัพธ์เป็น "เศษหลังจุดทศนิยม" ของตัวแปรต้น

ซึ่งจะมีช่วงที่ซ้ำกันบนคาบ P ที่เท่ากับ 1 และกราฟของฟังก์ชันนี้เป็นรูปคลื่นฟันเลื่อย (sawtooth wave)

ในฟังก์ชันตรีโกณมิติ ไซน์และโคไซน์เป็นฟังก์ชันเป็นคาบอย่างหนึ่ง ซึ่งมีคาบเท่ากับ 2π