ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลูตาร์โคส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: แทนที่ข้อความโดยอัตโนมัติ (-วุฒิสมาชิก +สมาชิกวุฒิสภา)
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 53: บรรทัด 53:


{{Link GA|de}}
{{Link GA|de}}

[[af:Plutarchus]]
[[an:Plutarco]]
[[ar:بلوتارخ]]
[[arz:بلوتارك]]
[[az:Plutarx]]
[[be:Плутарх]]
[[be-x-old:Плютарх]]
[[bg:Плутарх]]
[[bn:প্লুতার্ক]]
[[br:Ploutarc'hos]]
[[bs:Plutarh]]
[[ca:Plutarc de Queronea]]
[[cs:Plútarchos]]
[[cv:Плутарх]]
[[da:Plutarch]]
[[de:Plutarch]]
[[el:Πλούταρχος]]
[[en:Plutarch]]
[[eo:Plutarko]]
[[es:Plutarco]]
[[et:Plutarchos]]
[[eu:Plutarko]]
[[ext:Plutarcu]]
[[fa:پلوتارک]]
[[fi:Plutarkhos]]
[[fr:Plutarque]]
[[gl:Plutarco de Queronea]]
[[he:פלוטארכוס]]
[[hi:प्लूटार्क]]
[[hr:Plutarh]]
[[hu:Plutarkhosz]]
[[hy:Պլուտարքոս]]
[[ia:Plutarcho]]
[[id:Plutarkhos]]
[[io:Plutarchos]]
[[is:Plútarkos]]
[[it:Plutarco]]
[[ja:プルタルコス]]
[[ka:პლუტარქე]]
[[kk:Плутарх]]
[[ko:플루타르코스]]
[[ky:Херонейлик Плутарх]]
[[la:Plutarchus]]
[[lt:Plutarchas]]
[[lv:Plūtarhs]]
[[ml:പ്ലൂട്ടാർക്ക്]]
[[mn:Плутарх]]
[[mr:प्लूटार्क]]
[[mrj:Плутарх]]
[[ms:Plutarch]]
[[nl:Plutarchus]]
[[no:Plutark]]
[[pl:Plutarch]]
[[pms:Plutarch]]
[[pt:Plutarco]]
[[ro:Plutarh]]
[[ru:Плутарх]]
[[sh:Plutarh]]
[[simple:Plutarch]]
[[sk:Ploutarchos]]
[[sl:Plutarh]]
[[sq:Plutarku]]
[[sr:Плутарх]]
[[sv:Plutarchos]]
[[ta:புளூட்டாக்]]
[[tr:Plutarkhos]]
[[uk:Плутарх]]
[[vi:Plutarchus]]
[[war:Plutarco]]
[[xmf:პლუტარქე]]
[[zh:普魯塔克]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:44, 9 มีนาคม 2556

พลูทาร์ค
หน้าปกหนังสือของพลูทาร์ค
เกิดราว ค.ศ. 46
Chaeronea, Boeotia
เสียชีวิตราว ค.ศ. 120
Delphi, Phocis
สัญชาติชาวโรมันเชื้อสายกรีก
ชื่ออื่นลูซิอัส เมสทริอัส พลูทาร์คัส
อาชีพนักประวัติศาสตร์, นักเขียนชีวประวัติ, นักเขียนบทความ และนักปรัชญาเพลโต
ยุคสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 1 และ 2
ผลงานเด่นชีวิตของขุนนางกรีกและโรมัน” และ “โมราเลีย
แบบแผนการกล่าวถึงชีวประวัติ และอื่นๆ
ตำแหน่งนักประวัติศาสตร์
คู่สมรสทิโมเซนา
บุพการี
  • นิคาร์คัส? (บิดา)
นักประวัติศาสตร์ชาวโรมัน

พลูทาร์ค หรือ พลูทาคอส (เมื่อเกิด) หรือ ลูซิอัส เมสทริอัส พลูทาร์คัส[1] (เมื่อเป็นพลเมืองโรมัน) (อังกฤษ: Plutarch หรือ Lucius Mestrius Plutarchus, ภาษากรีก: Πλούταρχος) (ราว ค.ศ. 46 – ราว ค.ศ. 120) เป็นนักประวัติศาสตร์, นักเขียนชีวประวัติ, นักเขียนบทความ และนักปรัชญาเพลโตชาวชาวโรมันเชื้อสายกรีกผู้เป็นผู้เชี่ยวชาญในการเขียนชีวประวัติ และสาขาวิชาต่างๆ

งานเขียนที่สำคัญของพลูทาร์คก็คือ “ชีวิตของขุนนางกรีกและโรมัน” (Parallel Lives) และ “โมราเลีย” (Moralia)[2] พลูทาร์คเกิดในครอบครัวจากตระกูลสูงในเคโรเนียที่อยู่ทางตะวันออกของเดลไฟราว 20 ไมล์

ชีวิตเบื้องต้น

ซากของวัดอพอลโลและเดลไดที่พลูทาร์คเป็นนักบวชที่มีหน้าที่ตีความหมายของคำพยากรณ์เทพพยากรณ์ (oracle)

พลูทาร์คเกิดราวปี ค.ศ. 46 ในเมืองเล็กๆ ชื่อเคโรเนียในบริเวณที่เรียกว่าโบเทียในกรีซ ชื่อของพ่ออาจจะเป็นนิคาร์คัสที่สันนิษฐานจากการตั้งชื่อตามธรรมเนียมกรีกที่ตั้งชื่อข้ามชั่วคน ครอบครัวมีฐานะดี ปู่ของพลูทาร์คชื่อลัมพริอาสที่บันทึกใน “โมราเลีย[3] พลูทาร์คกล่าวถึงพี่น้องชายไทมอนและลัมพริอาสหลายครั้งในบทความที่เขียน และเมื่อกล่าวถึงไทมอนก็เป็นกล่าวถึงด้วยความรัก ในปี ค.ศ. 1624 รูอาลดัส (Rualdus) กล่าวในงานเขียน “ชีวิตของพลูทาร์ค” ว่ามีภรรยาชื่อทิโมเซนาจากหลักฐานงานเขียนของพลูทาร์คเอง ที่เป็นจดหมายที่เขียนถึงภรรยาขอร้องไม่ให้เศร้าโศกจนเกินควรจากการสูญเสียลูกสาวคนโตสองคนที่คนหนึ่งชื่อทิโมเซนาเช่นเดียวกับแม่ สิ่งที่น่าสนใจในจดหมายฉบับนี้คือนัยยะที่พลูทาร์คกล่าวถึงความเชื่อในเรื่องการกลับชาติมาเกิด (reincarnation)

จำนวนบุตรชายไม่เป็นที่ทราบแต่ลูกสองคน ออโตบูลัส พลูทาร์คมักจะการกล่าวถึงบุตรสองคนนี้และเขียนอุทิศให้ในศาสตรนิพนธ์เกี่ยวกับไทเมียสแห่งเพลโต เมื่อออโตบูลัสแต่งงานพลูทาร์คก็กล่าวถึงในบทเขียน “Table Talk” บุคคลหนึ่งที่ได้รับการกล่าวถึงคือโซคลารัสที่กล่าวถึงที่เป็นนัยยะว่าเป็นลูกแต่ก็ไม่ได้ระบุเป็นที่แน่นอน ศาสตรนิพนธ์ที่เกี่ยวกับปัญหาเกี่ยวกับการแต่งงานก็กล่าวถึงยูริดิซี (Eurydice) and โพลลิอานัส (Pollianus) ก็กล่าวถึงว่าเป็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับครอบครัวแต่ก็สรุปไม่ได้ว่าเป็นลูกสาวหรือไม่[4]

พลูทาร์คศึกษาคณิตศาสตร์ และปรัชญาที่สถาบันเพลโต (Platonic Academy) แห่งเอเธนส์ภายใต้อัมโมนิอัสแห่งเอเธนส์ (Ammonius of Athens) ระหว่างปี ค.ศ. 66 ถึงปี ค.ศ. 67[5] และมีเพื่อนผู้มีอิทธิพลหลายคนที่รวมทั้งควินทัส โซซิอัส เซเนซิโอ (Quintus Sosius Senecio) และ ฟันดานัส (Fundanus) ทั้งสองเป็นสมาชิกวุฒิสภาคนสำคัญที่พลูทาร์คอุทิศงานบางชิ้นให้ต่อมา[ต้องการอ้างอิง] พลูทาร์คเดินทางอย่างกว้างไกลในบริเวณเมดิเตอร์เรเนียนที่รวมทั้งกรีซตอนกลาง, สปาร์ตา, โครินธ์, เพทรา, ซาร์ดีส, อเล็กซานเดรีย และไปยังโรมสองครั้ง

เมื่อได้เป็นพลเมืองโรมันพลูทาร์คก็เปลี่ยนชื่อเป็น “ลูซิอัส เมสทริอัส พลูทาร์คัส” โดยมีกงสุลลูซิอัส เมสทริอัส ฟลอรัส (Lucius Mestrius Florus) เป็นผู้รับรองที่พลูทาร์คใช้เป็นแหล่งข้อมูลในหนังสือ “ชีวิตของโอโธ”[6]

อ้างอิง

  1. The name Mestrius or Lucius Mestrius was taken by Plutarch, as was common Roman practice, from his patron for Roman citizenship in the empire; in this case Lucius Mestrius Florus, a Roman consul.
  2. "Plutarch". Oxford Dictionary of Philosophy.
  3. Symposiacs, Book IX, questions II & III
  4. Aubrey Stewart, George Long. "Life of Plutarch". Plutarch's Lives, Volume I (of 4). The Gutenberg Project. สืบค้นเมื่อ 2007-01-03.
  5. "Plutarch Bio(46c.-125)". The Online Library of Liberty. สืบค้นเมื่อ 2006-12-06.
  6. Plutarch, Otho 14.1

แม่แบบ:Link GA