ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ป็อป"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TjBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต เพิ่ม: lb:Popmusek
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 43: บรรทัด 43:
{{Link FA|li}}
{{Link FA|li}}


[[af:Popmusiek]]
[[an:Musica pop]]
[[ar:بوب]]
[[ast:Pop]]
[[az:Pop musiqi]]
[[be:Поп-музыка]]
[[be-x-old:Поп-музыка]]
[[bg:Поп музика]]
[[bo:དར་ཁྱབ་ཆེ་བའི་རོལ་དབྱངས།]]
[[bs:Pop muzika]]
[[ca:Música pop]]
[[ceb:Musikong pop]]
[[cs:Pop music]]
[[cy:Cerddoriaeth boblogaidd]]
[[da:Popmusik]]
[[de:Popmusik]]
[[el:Ποπ μουσική]]
[[en:Pop music]]
[[eo:Pop-muziko]]
[[es:Pop]]
[[et:Levimuusika]]
[[eu:Pop]]
[[fa:موسیقی پاپ]]
[[fi:Popmusiikki]]
[[fiu-vro:Popmuusiga]]
[[fo:Popptónleikur]]
[[fr:Pop (musique)]]
[[fy:Popmuzyk]]
[[ga:Pop-cheol]]
[[gan:流行音樂]]
[[gd:Pop]]
[[gl:Música pop]]
[[he:מוזיקת פופ]]
[[hi:पॉप म्यूज़िक]]
[[hif:Pop music]]
[[hr:Pop]]
[[hu:Popzene]]
[[hy:Փոփ երաժշտություն]]
[[ia:Musica pop]]
[[id:Musik pop]]
[[is:Popptónlist]]
[[it:Musica leggera]]
[[ja:ポップ・ミュージック]]
[[jbo:zgirpopu]]
[[ka:პოპ-მუსიკა]]
[[ka:პოპ-მუსიკა]]
[[kk:Поп-музыка]]
[[kl:Pop (Nipilersoriaaseq)]]
[[ko:팝 음악]]
[[la:Musica popularis]]
[[lb:Popmusek]]
[[li:Popmeziek]]
[[lt:Popmuzika]]
[[lv:Popmūzika]]
[[mk:Поп-музика]]
[[ml:പോപ്‌ സംഗീതം]]
[[ms:Muzik pop]]
[[nah:Pop]]
[[nl:Popmuziek]]
[[nn:Pop]]
[[no:Popmusikk]]
[[pl:Muzyka pop]]
[[pt:Música pop]]
[[ro:Muzică pop]]
[[ru:Поп-музыка]]
[[scn:Mùsica liggera]]
[[sh:Pop]]
[[simple:Pop music]]
[[sk:Pop (hudobný žáner)]]
[[sl:Pop glasba]]
[[sr:Поп музика]]
[[sv:Popmusik]]
[[sw:Muziki wa pop]]
[[ta:பரப்பிசை]]
[[tl:Musikang pop]]
[[tr:Pop müzik]]
[[uk:Поп-музика]]
[[uz:Pop musiqa]]
[[vi:Pop]]
[[xmf:პოპ-მუსიკა]]
[[yi:פאפ מוזיק]]
[[zea:Popmuziek]]
[[zh:流行 (音樂類型)]]
[[zh:流行 (音樂類型)]]
[[zh-min-nan:Liû-hêng-koa]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:43, 9 มีนาคม 2556

ไมเคิล แจ็คสัน เจ้าของฉายา King of Pop

ดนตรีป็อป หรือ เพลงป็อป (อังกฤษ: Pop music หรือ Pop song) เป็นแนวเพลงที่มีลักษณะโมโลดี้ง่าย ๆ โครงสร้างเพลงไม่สลับซับซ้อน โดยอาจจะรวมเพลงหลาย ๆ แนวอย่าง ร็อก ฮิปฮอป เร้กเก้ แดนซ์, อาร์แอนด์บี, ฟังก์ หรือแม้แต่โฟล์ก

ประวัติ

เพลงป็อปจะถูกแต่งขึ้นเพื่อหวังกลุ่มคนฟังกลุ่มใหญ่โดยได้แรงผลักดันจากค่ายเพลงใหญ่ เริ่มจากในดนตรีประเภท Ragtime จากนั้น Ragtime เริ่มมาทางสวิง จากนั้นก็เป็นดนตรีแจ๊สที่สามารถเต้นรำได้ ดนตรีป็อปสามารถรวมได้ถึงบลูส์ที่มีต้นกำเนิดจากคนผิวดำในอเมริกา และดนตรีคันทรีที่เริ่มปรับจนกลายเป็นแนว Rockabilly (เพลงร็อกแอนด์โรลล์ยุคแรก)

ในยุค 50 เพลงร็อกแอนด์โรลล์ได้รับความนิยม มีศิลปินที่ได้รับความนิยมอย่างเอลวิส เพรสลีย์ ต่อมาในยุค 60 เป็นยุคของทีนไอดอลอย่างวง เดอะ บีทเทิลส์, เดอะ บีชบอยส์, คลิฟ ริชาร์ด, โรลลิ่ง สโตนส์, แซนดี ชอว์ เป็นต้น

ในยุค 70 เป็นยุคของดนตรีดิสโก้ มีศิลปินอย่าง แอบบ้า, บีจีส์ และยังมีดนตรีประเภทคันทรีที่ได้รับความนิยมอย่าง ดิ อีเกิลส์ หรือดนตรีป็อปที่ได้รับอิทธิพลจากร็อกอย่าง เดอะ คาร์เพ็นเทอร์ส, ร็อด สจ๊วต, คาร์ลี ไซมอน, แฌร์ เป็นต้น

ในยุค 80 มีศิลปินป็อปที่ได้รับความนิยมอย่าง ไมเคิล แจ็คสัน, มาดอนน่า, ทิฟฟานี, เจเน็ท แจ็คสัน‎, ฟิล คอลลินส์, แวม! ลักษณะดนตรีจะมีการใส่ดนตรีสังเคราะห์เข้าไป เพลงในยุคนี้ส่วนใหญ่จะเป็นเพลงเต้นรำและยังมีอิทธิพลถึงทางด้านแฟชั่นศักดิ์ชัย ด้วย

ในยุค 90 เริ่มได้อิทธิพลจากเพลงแนวอาร์แอนด์บี เช่น มารายห์ แครี, เดสทินี ไชลด์, บอยซ์ ทู เม็น, เอ็น โวค, ทีแอลซี ในยุคนี้ยังมีวงบอยแบนด์ที่ได้รับความนิยมอย่าง นิว คิดส์ ออน เดอะ บล็อก, เทค แดท, แบ็คสตรีท บอยส์

ในยุค 2000 มีศิลปินที่ประสบความสำเร็จอย่าง บียอนเซ่, บริทย์นี สเปียร์, คริสติน่า อากีเลร่า, แบล็ค อายด์ พีส์, จัสติน ทิมเบอร์เลค ส่วนเทรนป็อปอื่นเช่นแนว ป็อป-พังค์ อย่างวง ซิมเปิ้ล แพลน, เอฟริล ลาวีน รวมถึงการเกิดรายการสุดฮิต อเมริกัน ไอดอลที่สร้างศิลปินอย่าง เคลลี่ คลาร์กสัน และ เคลย์ ไอเคน แนวเพลงป็อปและอาร์แอนด์บีเริ่มรวมกัน มีลักษณะเพลงป็อปที่เพิ่มความเป็นอาร์แอนด์บีมากขึ้นอย่าง เนลลี เฟอร์ตาโด, ริฮานนา, จัสติน ทิมเบอร์เลค เป็นต้น

แหล่งข้อมูลอื่น


แม่แบบ:Link FA