ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปนาลี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: เปลี่ยนจาก หมวดหมู่:สถาปัตยกรรมกอธิค ไปยัง หมวดหมู่:สถาปัตยกรรมกอทิก
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 29: บรรทัด 29:
[[หมวดหมู่:สถาปัตยกรรมคริสต์ศาสนสถาน]]
[[หมวดหมู่:สถาปัตยกรรมคริสต์ศาสนสถาน]]
[[หมวดหมู่:ศิลปะศาสนาคริสต์]]
[[หมวดหมู่:ศิลปะศาสนาคริสต์]]

[[ar:غرغول]]
[[bg:Гаргойл]]
[[br:Gargoul]]
[[ca:Gàrgola]]
[[cs:Chrlič]]
[[cy:Gargoil]]
[[da:Gargoil]]
[[de:Wasserspeier]]
[[en:Gargoyle]]
[[eo:Gargojlo]]
[[es:Gárgola (arquitectura)]]
[[eu:Gargola]]
[[fa:آب‌پران]]
[[fi:Gargoili]]
[[fr:Gargouille]]
[[gl:Gárgola (arquitectura)]]
[[he:גרגויל]]
[[hr:Vodoriga]]
[[is:Ufsagrýla]]
[[it:Gargolla]]
[[ja:ガーゴイル]]
[[lb:Waasserspäizer]]
[[nl:Waterspuwer]]
[[no:Vannkaster]]
[[pl:Rzygacz]]
[[pt:Gárgula]]
[[ro:Gargui]]
[[ru:Гаргулья]]
[[scn:Catusu]]
[[simple:Gargoyle]]
[[sk:Chrlič]]
[[sv:Vattenkastare]]
[[tr:Gargoyle]]
[[zh:雨漏]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:25, 9 มีนาคม 2556

ปนาลี บนวิหารนอเตอร์ดามในฝรั่งเศส

ปนาลี หรือ การ์กอยล์ (อังกฤษ: Gargoyle; ฝรั่งเศส: gargouille) ความหมายของปนาลีทางสถาปัตยกรรมหมายถึงหินที่แกะเป็นรูปอัปลักษณ์ (grotesque) ยื่นออกไปจากสิ่งก่อสร้างที่มีรางและช่องให้น้ำจากหลังคาไหลห่างจากตัวสิ่งก่อสร้าง

คำว่า “gargoyle” มาจากภาษาฝรั่งเศสว่า “gargouille” ซึ่งแปลว่าคอหอย[1] ซึ่งมาจากภาษาละติน “gurgulio, gula” หรือคำที่มีรากมาจาก “gar” ที่แปลว่า กลืน ซึ่งคล้ายเสียงน้ำไหลในท่อ (ตัวอย่าง: ภาษาสเปน “garganta” แปลว่าคอหอย จึงใช้คำว่า “garganta” สำหรับ “gargoyle”)

รูปอัปลักษณ์ที่มิได้ใช้เป็นรางน้ำแต่ใช้เป็นสิ่งตกแต่ง ตามภาษาสามัญก็ยังเรียกว่าปนาลี[1] ถึงแม้ว่าทางสถาปัตยกรรมจะแยกการใช้ระหว่างคำว่าปนาลี และคำว่ารูปอัปลักษณ์ ปนาลีจะเป็นคำที่ใช้สำหรับรูปอัปลักษณ์ที่ใช้เป็นรางน้ำ และคำว่ารูปอัปลักษณ์จะหมายถึงรูปสลักที่มิได้ใช้เป็นรางน้ำ

ปนาลีจะเป็นรูปสลักตามมุมต่าง ๆ ของสถาปัตยกรรมในแบบกอธิคในยุโรป โดยมากจะสลักเป็นรูปมังกรหรือปีศาจในท่วงท่าต่าง ๆ โดยท่าที่รู้จักมากที่สุดคือท่านั่งยอง ๆ ตามองไปทางข้างหน้า

ปนาลีเชื่อว่าเดิมเป็นมังกร ชาวยุโรปในยุคกลางเชื่อว่าการ์กอยล์เมื่อตอนกลางวันจะเป็นรูปสลัก ตกกลางคืนจะกลายร่างเป็นมังกรบินไปทั่วหมู่บ้านหรือเมืองที่อาศัย เพื่อปกป้องดูแลมิให้มีสิ่งชั่วร้ายต่าง ๆ เข้ามารังควาน

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 Houghton Mifflin (2000). The American Heritage Dictionary of the English Language (4th ed ed.). Boston and New York: Houghton Mifflin. pp. page 725. ISBN 978-0-395-82517-4. {{cite book}}: |edition= has extra text (help); |pages= has extra text (help)

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น