ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แบตเตอรี่"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: mr:विद्युतघट
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 62 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q267298 (translate me)
บรรทัด 62: บรรทัด 62:
[[หมวดหมู่:แบตเตอรี่]]
[[หมวดหมู่:แบตเตอรี่]]


[[ar:بطارية (كهرباء)]]
[[az:Batareya]]
[[bg:Батерия]]
[[bs:Baterija (elektricitet)]]
[[ca:Bateria elèctrica]]
[[cs:Elektrická baterie]]
[[cy:Batri (trydan)]]
[[da:Batteri (elektricitet)]]
[[de:Batterie (Elektrotechnik)]]
[[el:Μπαταρία]]
[[en:Battery (electricity)]]
[[eo:Pilo]]
[[es:Pila (electricidad)]]
[[et:Patarei]]
[[eu:Pila]]
[[fa:باتری]]
[[fi:Paristo]]
[[fr:Pile électrique]]
[[fy:Batterij]]
[[gan:電池]]
[[he:סוללה חשמלית]]
[[hi:बैटरी]]
[[hi:बैटरी]]
[[hr:Baterija]]
[[ht:Selil vòltayik]]
[[hu:Szárazelem]]
[[id:Baterai]]
[[is:Rafhlaða]]
[[it:Pila (elettrotecnica)]]
[[ja:電池]]
[[ka:ბატარეა]]
[[kn:ಶುಷ್ಕ ಕೋಶ (ಡ್ರೈ ಸೆಲ್)]]
[[ko:전지]]
[[ku:Baterî]]
[[lt:Baterija]]
[[lv:Baterija]]
[[ml:ബാറ്ററി]]
[[mn:Батарей]]
[[mr:विद्युतघट]]
[[nl:Batterij (elektrisch)]]
[[nn:Elektrisk batteri]]
[[no:Elektrisk batteri]]
[[pl:Bateria ogniw]]
[[pnb:بیٹری]]
[[pt:Pilha]]
[[qu:Pinchikilla pila]]
[[ro:Baterie electrică]]
[[ru:Батарея (электротехника)]]
[[scn:Battarìa (accumulaturi)]]
[[si:විදුලි කෝෂය (විද්‍යුතය)]]
[[si:විදුලි කෝෂය (විද්‍යුතය)]]
[[simple:Battery]]
[[sq:Bateria]]
[[sr:Батерија]]
[[sv:Batteri]]
[[ta:மின்கலம்]]
[[te:బ్యాటరీ]]
[[tr:Pil]]
[[uk:Батарейка]]
[[ur:برقیچہ]]
[[vec:Batèria (chìmega)]]
[[vi:Pin (điện học)]]
[[war:Bateriya]]
[[yi:באטעריע]]
[[zh:电池]]
[[zh-yue:電池]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:51, 9 มีนาคม 2556

แบตเตอรี่แบบประจุได้ ขนาด AA

แบตเตอรี่ (อังกฤษ: Battery) ในทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หมายถึงอุปกรณ์อย่างหนึ่งที่ใช้เก็บพลังงาน และนำมาใช้ได้ในรูปของไฟฟ้า แบตเตอรี่นั้นประกอบด้วยอุปกรณ์ไฟฟ้าเคมี เช่น เซลล์กัลวานิกหรือเซลล์เชื้อเพลิง อย่างน้อยหนึ่งเซลล์

เชื่อกันว่าหลักฐานชิ้นแรกสุดที่เป็นไปได้ว่าจะเป็นแบตเตอรี่ในประวัติศาสตร์โลก คือ วัตถุที่เรียกว่าแบตเตอรี่แบกแดด (Baghdad Battery) คาดว่ามีอายุในช่วง 250 ปีก่อนคริสตกาล ถึงคริสต์ศักราช 640 สำหรับพัฒนาการของแบตเตอรี่ในยุคใหม่นั้น เริ่มต้นที่ ที่พัฒนาขึ้นโดยนักฟิสิกส์ชาวอิตาลี นามว่าอาเลสซานโดร โวลตา เมื่อ ค.ศ. 1800 ปัจจุบันนี้อุตสาหกรรมแบตเตอรี่ทั่วโลกสามารถสร้างรายได้จากการขายปีละ 4.8 หมื่นล้านดอลาร์สหรัฐเลยทีเดียว [1]

ประเภทแบตเตอรี่สามัญ

แบตเตอรี่ชนิดประจุไฟฟ้าใหม่ได้ และชนิดใช้แล้วทิ้ง

Various batteries (clockwise from bottom left) : two 9-volt, two "AA", one "D", a cordless phone battery, a camcorder battery, a 2-meter handheld ham radio battery, and a button battery, one "C" and two "AAA" plus, a U.S. quarter, for scale

จากมุมมองของผู้ใช้แบตเตอรี่แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้; แบตเตอรี่ชนิดประจุไฟฟ้าใหม่ได้ และ แบตเตอรี่ชนิดประจุไฟฟ้าใหม่ไม่ได้ (ใช้แล้วทิ้ง) ซึ่งนิยมใช้อย่างแพร่หลายทั้งสองชนิด

แบตเตอรี่ใช้แล้วทิ้งเรียกอีกอย่างว่า เซลล์ปฐมภูมิ ใช้ได้ครั้งเดียว เนื่องจากไฟฟ้าที่ได้เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสารเคมีเมื่อสารเคมีเปลี่ยนแปลงหมดไฟฟ้าก็จะหมดจากแบตเตอรี่ แบตเตอรี่เหล่านี้เหมาะสำหรับใช้ในอุปกรณ์ขนาดเล็กและสามารถเคลื่อนย้ายได้สะดวก ใช้ไฟน้อยหรือในที่ที่ห่างไกลจากพลังงานไฟฟ้ากระแสสลับ

ในทางตรงกันข้ามแบตเตอรี่ชนิดประจุไฟฟ้าใหม่ได้หรือ เซลล์ทุติยภูมิ สามารถประจุไฟฟ้าใหม่ได้หลังจากไฟหมดเนื่องจากสารเคมีที่ใช้ทำแบตเตอรี่ชนิดนี้สามารถทำให้กลับไปอยู่ในสภาพเดิมได้โดยการประจุไฟฟ้าเข้าไปใหม่ซึ่งอุปกรณ์ที่ใช้อัดไฟนี้เรียกว่า ชาร์เจอร์ หรือ รีชาร์เจอร์

แบตเตอรี่ชนิดประจุไฟฟ้าใหม่ได้ที่เก่าแก่ที่สุดซึ่งใช้อยู่จนกระทั่งปัจจุบันคือ "เซลล์เปียก" หรือแบตเตอรี่ตะกั่ว-กรด (lead-acid battery) แบตเตอรี่ชนิดนี้จะบรรจุในภาชนะที่ไม่ได้ปิดผนึก (unsealed container) ซึ่งแบตเตอรี่จะต้องอยู่ในตำแหน่งตั้งตลอดเวลาและต้องเป็นพื้นที่ที่ระบายอากาศได้เป็นอย่างดี เพื่อระบายก๊าซ ไฮโดรเจน ที่เกิดจากปฏิกิริยาและแบตเตอรี่ชนิดจะมีน้ำหนักมาก

รูปแบบสามัญของแบตเตอรี่ตะกั่ว-กรด คือแบตเตอรี่ รถยนต์ ซึ่งสามารถจะให้พลังงานไฟฟ้าได้ถึงประมาณ 10,000 วัตต์ในช่วงเวลาสั้นๆ และมีกระแสตั้งแต่ 450 ถึง 1100 แอมแปร์ สารละลายอิเล็กโตรไลต์ของแบตเตอรี่คือ กรดซัลฟิวริก ซึ่งสามารถเป็นอันตรายต่อผิวหนังและตาได้ แบตเตอรี่ตะกั่ว-กรดที่มีราคาแพงมากเรียกว่า แบตเตอรี่เจล (หรือ "เจลเซลล์") ภายในจะบรรจุอิเล็กโตรไลต์ประเภทเซมิ-โซลิด (semi-solid electrolyte) ที่ป้องกันการหกได้ดี และแบตเตอรี่ชนิดอัดไฟใหม่ได้ที่เคลื่อนย้ายได้สะดวกกว่าคือประเภท "เซลล์แห้ง" ที่นิยมใช้กันในโทรศัพท์มือถือและคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก เซลล์ของแบตเตอรี่ชนิดนี้คือ

ใช้แล้วทิ้ง

ชาร์จใหม่ได้

ดูเพิ่ม

อ้างอิง