ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฉากแท่นบูชาอิเซนไฮม์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: เปลี่ยนจาก หมวดหมู่:จิตรกรรมยุคเรอเนซองส์ ไปยัง หมวดหมู่:จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิ...
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 41: บรรทัด 41:
[[หมวดหมู่:แท่นบูชา]]
[[หมวดหมู่:แท่นบูชา]]
[[หมวดหมู่:ศิลปะเกี่ยวกับพระเยซู]]
[[หมวดหมู่:ศิลปะเกี่ยวกับพระเยซู]]

[[cs:Isenheimský oltář]]
[[de:Isenheimer Altar]]
[[en:Isenheim Altarpiece]]
[[es:Retablo de Isenheim]]
[[fr:Retable d'Issenheim]]
[[hr:Isenheimski oltar]]
[[hu:Isenheimi oltár]]
[[it:Altare di Issenheim]]
[[pl:Ołtarz z Isenheim]]
[[pt:Retábulo de Issenheim]]
[[ru:Изенгеймский алтарь]]
[[sk:Isenheimský oltár]]
[[uk:Ізенгеймський вівтар]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:15, 9 มีนาคม 2556

ฉากแท่นบูชาอิเซนไฮม์
ศิลปินแม็ทไทอัส กรึนวอลด์
ปีค.ศ. 1512 - ค.ศ. 1516
ประเภทฉากแท่นบูชา
สถานที่พิพิธภัณฑ์อุนเทอร์ลินเดน, โคลมาร์
ไฟล์:Grunewald Isenheim3.jpg
มุมที่สาม

ฉากแท่นบูชาอิเซนไฮม์ (อังกฤษ: Isenheim Altarpiece) เป็นฉากแท่นบูชาที่เขียนโดยแม็ทไทอัส กรึนวอลด์จิตรกรคนสำคัญชาวเยอรมันของสมัยเรอเนซองส์ ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์อุนเทอร์ลินเดนที่โคลมาร์ในประเทศฝรั่งเศส

“ฉากแท่นบูชาอิเซนไฮม์” ที่เขียนโดยแม็ทไทอัส กรึนวอลด์ระหว่างปี ค.ศ. 1512 ถึงปี ค.ศ. 1516 เป็นงานชิ้นที่ใหญ่ที่สุดและชิ้นเอกของกรึนวอลด์ที่เขียนสำหรับสำนักสงฆ์เซนต์แอนโทนีในอิเซนไฮม์ไม่ไกลจากโคลมาร์ ซึ่งเป็นสำนักสงฆ์ที่มีชื่อในการบำบัดโรคภัย นักบวชนิกายอันโตนินของสำนักสงฆ์มีชื่อเสียงในการรักษาผู้ป่วยด้วยโรคผิวหนังเช่น ergotism ที่อาการปรากฏในภาพเขียน

องค์ประกอบ

ฉากแท่นบูชาประกอบด้วยปีกสองชุดที่แสดงได้สามมุม มุมแรกเป็นฉาก “การตรึงกางเขนของพระเยซู” ขนาบด้วยภาพนักบุญแอนโทนี แอ็บบ็อททางขวา และ นักบุญเซบาสเตียนทางซ้าย ฐานฉากแท่นบูชาเป็นภาพ “การบรรจุพระเยซู” ที่ยังคงเห็นในมุมมองที่สอง เมื่อเปิดปีกใหญ่สุดด้านนอกออกเป็นมุมมองที่สองก็จะเป็นภาพ “การประกาศของเทพ”, และพระแม่มารี “อาบน้ำให้พระเยซูพร้อมด้วยกลุ่มเทวดาขับเพลง” และ “พระเยซูคืนชีพ” มุมมองในสุดเป็นภาพ “การล่อใจนักบุญแอนโทนี” และภาพ “การพบปะระหว่างนักบุญแอนโทนีและนักพรตพอล” และงานแกะฉากแท่นบูชาดั้งเดิมบนไม้ปิดทองโดยนิโคลัส ฮาเกอเนาจากราว ค.ศ. 1490 ในปัจจุบันฉากแท่นบูชาถูกแบ่งเป็นชั้นๆ ซึ่งทำให้แต่ละชิ้นแยกจากกันซึ่งทำให้มองเห็นภาพได้ทุกภาพ นอกไปจากฉากแท่นบูชาเดิมที่มิได้มีภาพขนาบในมุมมองที่สาม งานสลักไม้ตอนบนและตอนล่างของฉากถูกทำลายไประหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส

อ้างอิง

  • Snyder, James, Northern Renaissance Art. Prentice Hall, Inc., and Harry N. Abrams, Inc., 1985. ISBN 0-8109-1081-0

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น


แม่แบบ:Link GA