ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:มารยาท"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 54 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q4654465 (translate me)
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
บรรทัด 42: บรรทัด 42:
[[หมวดหมู่:ชุมชนวิกิพีเดีย]]
[[หมวดหมู่:ชุมชนวิกิพีเดีย]]
{{เรียงลำดับ|{{PAGENAME}}}}
{{เรียงลำดับ|{{PAGENAME}}}}

[[als:Wikipedia:Wikiquette]]
[[ar:ويكيبيديا:قواعد النقاش]]
[[az:Vikipediya:Etiket]]
[[bar:Wikipedia:Wikiquette]]
[[be:Вікіпедыя:Этыкет]]
[[bg:Уикипедия:Уикиетикет]]
[[bn:উইকিপিডিয়া:শিষ্টাচার]]
[[ca:Viquipèdia:Viquietiqueta]]
[[cs:Wikipedie:Wikietiketa]]
[[da:Wikipedia:Wikikette]]
[[de:Wikipedia:Wikiquette]]
[[en:Wikipedia:Etiquette]]
[[eo:Vikipedio:Etiko de Vikipedio]]
[[es:Wikipedia:Etiqueta]]
[[fa:ویکی‌پدیا:آداب معاشرت]]
[[fi:Wikipedia:Etiketti]]
[[fr:Wikipédia:Règles de savoir-vivre]]
[[fy:Wikipedy:Wikikette]]
[[gl:Wikipedia:Normas de conduta]]
[[he:ויקיפדיה:כללי התנהגות בין חברי הקהילה]]
[[hr:Wikipedija:Wikibonton]]
[[hu:Wikipédia:Wikikett]]
[[hy:Վիքիպեդիա:Վարվելակարգ]]
[[ia:Wikipedia:Etiquetta]]
[[id:Wikipedia:Etikawiki]]
[[is:Wikipedia:Framkoma á Wikipediu]]
[[it:Wikipedia:Wikiquette]]
[[ja:Wikipedia:エチケット]]
[[jv:Wikipedia:Etikawiki]]
[[ka:ვიკიპედია:ეტიკეტი]]
[[ko:위키백과:토론에서 지켜야 할 점]]
[[map-bms:Wikipedia:Etikawiki]]
[[mk:Википедија:Барања за администраторски статус/Raso mk - отстранување на администраторски права]]
[[ml:വിക്കിപീഡിയ:നിയമസംഹിത]]
[[ms:Wikipedia:Etika]]
[[mt:Għajnuna:Wikiketta]]
[[nl:Wikipedia:Wikiquette]]
[[no:Wikipedia:Wikikette]]
[[pl:Wikipedia:Wikietykieta]]
[[pt:Wikipédia:Normas de conduta]]
[[ro:Wikipedia:Wikiquette]]
[[ru:Википедия:Этикет]]
[[rue:Вікіпедія:Вікіетікета]]
[[sk:Wikipédia:Wikietiketa]]
[[sl:Wikipedija:Etiketa]]
[[sr:Википедија:Викибонтон]]
[[sv:Wikipedia:Etikett]]
[[ta:விக்கிப்பீடியா:விக்கி நற்பழக்கவழக்கங்கள்]]
[[tr:Vikipedi:Görgü kuralları]]
[[uk:Вікіпедія:Етикет]]
[[ur:منصوبہ:آداب]]
[[vi:Wikipedia:Quy tắc ứng xử trên Wikipedia]]
[[yi:װיקיפּעדיע:עטיקעט]]
[[zh:Wikipedia:礼仪]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:51, 9 มีนาคม 2556

ไฟล์:Plush Toys.JPG
หูของเด็กใหม่ค่อนข้างอ่อนบาง ฉะนั้น อย่าเผลอไปกัด

เนื่องจากชาววิกิพีเดียมาจากหลายๆ ที่ หลายสังคม ความเห็นและมุมมองย่อมแตกต่างกัน การเคารพและมีมารยาทต่อกัน เป็นหัวใจสำคัญในการร่วมมือสร้างวิกิพีเดียขึ้นมาให้ประสบความสำเร็จ บทความในหน้านี้ มารยาทในวิกิพีเดีย เพื่อเป็นแนวทาง และพึงนึกเสมอว่า พื้นฐานของคนส่วนใหญ่จะเกิดความรู้สึกภูมิใจ เมื่อได้ทำงานหรือเขียนบทความอะไรลงไป การไปแก้ไขงานคนนั้นๆ อาจทำให้เกิดความรู้สึก หงุดหงิดขึ้นมาได้ง่าย พึงควรระวัง

พื้นฐานของมารยาทในวิกิพีเดีย

  • เชื่อมั่นว่าบุคคลอื่นมีเจตนาดี ทุกคนที่ร่วมเข้ามาเขียนในวิกิพีเดีย มีใจที่ต้องการสร้างบทความที่ดี และนโยบายของวิกิพีเดียเปิดโอกาสให้บุคคลเหล่านั้นสามารถเขียนและแก้ไขบทความที่ดีได้
  • "จงปฏิบัติต่อผู้อื่น อย่างที่คุณปรารถนาให้เขาปฏิบัติต่อคุณ"
  • สุภาพ
  • พูดกับคนอื่น เหมือนกับที่อยากให้คนอื่นพูดกับเรา
  • ควรหลีกเลี่ยงการใช้ภาษาแชต เพราะผู้อื่นอาจถือเป็นการดูถูก หรือไม่เหมาะสม และอาจทำให้น้ำหนักความคิดเห็นของคุณน้อยลง (ยกเว้นกับผู้ใช้ที่ยอมรับภาษาแชตในหน้าคุยกับผู้ใช้)
  • ในหน้าพูดคุยหรืออภิปราย ตามมารยาทควรลงชื่อเพื่อแสดงให้เห็นถึงผู้พูด โดยการใส่เครื่องหมาย ~~~~ (ทิลดา สี่ตัว)
  • หลีกเลี่ยงการย้อนการแก้ไขของผู้ใช้คนอื่น เมื่อสามารถทำได้
  • ทำงานโดยอยู่ภายใต้ข้อตกลงร่วมกัน
  • เวลาโต้เถียง ให้แย้งกันเรื่องข้อเท็จจริงของตัวเนื้อหา อย่าเถียงกันเรื่องความเห็นหรือการแสดงออกส่วนตัวในส่วนเนื้อหา
  • พยายามควบคุมอารมณ์ของตนระหว่างการโต้เถียง
  • แก้ไขหรือสรุปข้อโต้เถียงที่คุณเป็นผู้ตั้งประเด็นไว้
  • อย่าเฉยเมยกับคำถามผู้อื่น ถ้ามีผู้ที่สงสัยและต้องการแก้ไขงานของเรา ควรระบุเหตุผลที่เหมาะสมในการเขียนหรือแก้ไข
  • อย่าลืมขอโทษถ้ากระทำผิดพลาด
  • ให้อภัยการกระทำที่ผิด และลืมมันเสีย
  • อย่าปลุกกระแสให้คนอื่นทะเลาะกัน
  • ช่วยไกล่เกลี่ยข้อขัดแย้งระหว่างผู้ใช้คนอื่น
  • ลองดู วิกิพีเดีย:ข้อผิดพลาดที่พบบ่อย และ คำที่มักเขียนผิด
  • ถ้ามีปัญหา ลองเว้นระยะไปสักพัก หรือลองดูบทความอื่น ในวิกิพีเดียภาษาไทยมีบทความให้คุณตรวจสอบแก้ไขถึง 163,852 บทความ
  • ท้ายสุด อย่าลืมดูว่าวิกิพีเดีย:อะไรที่ไม่ใช่วิกิพีเดีย และ วิกิพีเดีย:นโยบายและแนวปฏิบัติ

ข้อพึงระวัง

  • พยายามอธิบายให้ชัดเจน ว่าต้องการทำอะไร เฉพาะอย่างยิ่งในหน้าพูดคุย
  • ผู้เขียนบทความควรจะพยายามทำความเข้าใจในการแก้ไขและการวิจารณ์ของบุคคลอื่นที่มีต่อบทความของตน
  • ผู้มาใช้ใหม่ อาจผิดพลาดได้ง่าย พูดคุยด้วยคำพูดที่ดี และอธิบายข้อผิดพลาด และที่สำคัญ ต้องไม่ลืม แนะนำวิธีแก้ไขหรือหาทางออกให้
  • อย่าสรุปว่า สิ่งที่เราไม่เห็นด้วย คือสิ่งที่ผิด หลายๆ เรื่อง สามารถหาทางออกได้มากกว่ากำหนดว่า ถูก หรือ ผิด
  • อย่าว่าร้ายผู้อื่น ไม่ว่าเรื่องใดก็ตาม เพราะจะทำให้ผู้ใช้คนนั้นมีปฏิกิริยาตอบสนอง ถ้าคุณต้องการวิจารณ์ในเรื่องใดก็ตาม คุณควรจะวิจารณ์เขาอย่างสุภาพและติในเชิงก่อ
  • ถึงแม้ว่ามารยาท จะมีเรื่องให้คิดมากมาย แต่อย่าลืมว่า วิกิพีเดียแนะนำให้กล้าแก้ไขบทความ

ดูเพิ่ม