ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หินหนืด"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
บอต: ลิงก์บทความคัดสรร he:מאגמה
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 69 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q42278 (translate me)
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
บรรทัด 21: บรรทัด 21:
[[หมวดหมู่:ศิลาวิทยา]]
[[หมวดหมู่:ศิลาวิทยา]]
{{Link FA|he}}
{{Link FA|he}}

[[af:Magma]]
[[am:ቅልጥ አለት]]
[[an:Magma]]
[[ar:صهارة]]
[[ast:Magma]]
[[be:Магма]]
[[be-x-old:Магма]]
[[bg:Магма]]
[[bs:Magma]]
[[ca:Magma]]
[[cs:Magma]]
[[da:Magma]]
[[de:Magma]]
[[el:Μάγμα]]
[[en:Magma]]
[[eo:Magmo]]
[[es:Magma]]
[[et:Magma]]
[[eu:Magma]]
[[fa:تفتال (زمین‌شناسی)]]
[[fi:Magma]]
[[fr:Magma (géologie)]]
[[fur:Magma]]
[[fy:Magma (stiente)]]
[[gl:Magma]]
[[he:מאגמה]]
[[hr:Magma]]
[[ht:Magma]]
[[hu:Magma]]
[[id:Magma]]
[[is:Bergkvika]]
[[it:Magma]]
[[ja:マグマ]]
[[ka:მაგმა]]
[[kk:Магма]]
[[ko:마그마]]
[[la:Magma]]
[[lb:Magma]]
[[lt:Magma]]
[[lv:Magma]]
[[ms:Magma]]
[[nds:Magma (Vulkan)]]
[[new:माग्मा]]
[[nl:Magma (gesteente)]]
[[nn:Magma]]
[[no:Magma]]
[[pl:Magma]]
[[pnb:میگما]]
[[pt:Magma]]
[[ro:Magmă]]
[[ru:Магма]]
[[sh:Magma]]
[[simple:Magma]]
[[sk:Magma]]
[[sl:Magma]]
[[sr:Магма]]
[[su:Magma]]
[[sv:Magma]]
[[sw:Magma]]
[[ta:கற்குழம்பு]]
[[tg:Магма]]
[[tr:Magma]]
[[tt:Магма]]
[[uk:Магма]]
[[ur:میگما]]
[[vi:Macma]]
[[vls:Magma]]
[[xmf:მაგმა]]
[[zh:岩漿]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:09, 9 มีนาคม 2556

หินหนืด หรือ หินแม็กมา (magma) เป็นสารเหลวที่อยู่ลึกลงไปภายใต้เปลือกโลก มีความหนืดหรือข้นมากกว่าปกติ เคลื่อนตัวได้ในวงจำกัด มีส่วนผสมของแข็ง ของเหลว หรือก๊าสรวมอยู่ด้วย มีอุณหภูมิที่สูงมาก เมื่อแทรกดันหรือพุ่งขึ้นจากผิวโลก จะเย็นตัวลงกลายเป็นหินแข็ง เรียกว่า หินอัคนี

หินหนืดมีอุณหภูมิอยู่ในช่วง 650 - 1,200 องศาเซลเซียส ถูกอัดอยู่ภายใต้แรงดันสูง บางครั้งถูกดันขึ้นมาผ่านปล่องภูเขาไฟเป็นหินหลอมเหลว (lava) ผลลัพธ์จากการระเบิดของภูเขาไฟ มักจะได้ของเหลว ผลึก และก๊าส ที่ไม่เคยผุดขึ้นจากเปลือกโลกมาก่อน หินหนืดจะสะสมตัวอยู่ในช่องภายใต้เปลือกโลก โดยมีองค์ประกอบต่าง ๆ กันเล็กน้อยในพื้นที่ต่าง ๆ

การเกิดหินหนืด

การเกิดหินหนืดนั้น บางส่วนของโลกจะต้องมีความร้อนพอที่จะละลายหินได้ ในสภาวะปกติจะไม่มีความร้อนที่สูงพอจะละลายหินได้ เว้นแต่บริเวณแกนโลกด้านนอก ดังนั้นหินหนืดจึงเกิดในสภาพพิเศษเท่านั้น และต้องมีแรงดันที่เพิ่มขึ้น ทำให้อุณหภูมิในการหลอมละลายเปลี่ยนไปด้วย

ชนิดของหินหนืด

  • หินหนืดบะซอลต์ (Balastic magma) หรือ หินหนืดแกบโบร (Gabbroic magma)
  • หินหนืดไดออไรต์ (Dioritic magma) หรือ หินหนืดแอนเดสไซต์ (Andesitic magma)
  • หินหนืดไรโอไลต์ (Rhyolitic magma) หรือ หินหนืดแกรนิต (Granitic magma)

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

แม่แบบ:Link FA