ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าพระยายมราช (ครุฑ)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่เกี่ยวกับชีวประวัติ +ต้องการอ้างอิงเต็ม
บรรทัด 28: บรรทัด 28:
| party =
| party =
}}
}}
[[ไฟล์:King Mongkut Solar Eclipse Expedition.jpg|thumb|250px|พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรสุริยุปราคาที่บ้านหว้ากอ เมืองประจวบคีรีขันธ์ พ.ศ. 2411 ทรงประทับ ณ เกยหน้าพลับพลาที่ประทับ โปรดให้ฉายพระรูปกับคณะแขกเมือง ณ ค่ายหลวงบ้านหว้ากอ]]
[[ไฟล์:ถนนเจริญกรุงในอดีต.jpg|thumb|250px|ถนนเจริญกรุงในอดีต]]
[[ไฟล์:000ป.jpg|thumb|250px|ถนนเจริญกรุงในปัจจุบัน]]
[[ไฟล์:เสียดินแดน.jpg|150px|thumb|right|แผนที่การเสียดินแดนของไทย (หมายเลขที่ 2)]]

'''มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยายมราช (ครุฑ บ่วงราบ)''' อดีต [[เสนาบดีกรมเวียง]] ที่ 3 ใน[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] [[รัชกาลที่ 4]] และอดีตเจ้าเมืองชุมพร ใน[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] [[รัชกาลที่ 3]] ทั้งยังเป็นผู้ควบคุมการก่อสร้าง ถนนรอบ[[พระบรมมหาราชวัง]]<ref>ภาพเก่าในสยาม : 66</ref> ([[วัดพระแก้ว]]) [[ถนนเจริญกรุง]]ตอนใน<ref>ภาพเก่าในสยาม : 71</ref> สร้างตึกแถวขึ้นสองฝั่งถนนถวายแก่พระราชโอรสธิดาใน[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เป็นตึกชั้นเดียว ถ่ายแบบมาจากประเทศสิงคโปร์<ref>ภาพเก่าในสยาม : 71</ref> สร้าง[[วัดสุบรรณนิมิตร]] และเป็น [[คณะข้าหลวงปักปันเขตแดนไทย-พม่า]] จะเห็นว่าในแผ่นดิน[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] [[รัชกาลที่ 4]] เริ่มมีการปฏิรูปและพัฒนาประเทศครั้งใหญ่ ให้เป็นแบบยุโรปในหลายด้านโดยการจ้างชาวต่างชาติเข้ามาจัดการรูปแบบโครงสร้างในแต่ละหน่วย เช่น [[ทหาร]] [[ตำรวจ]] [[ข้าราชการพลเรือน]] คมนาคม การเก็บ[[ภาษี]]เพื่อทำถนนในพระนคร เป็นต้น
'''มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยายมราช (ครุฑ บ่วงราบ)''' อดีต [[เสนาบดีกรมเวียง]] ที่ 3 ใน[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] [[รัชกาลที่ 4]] และอดีตเจ้าเมืองชุมพร ใน[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] [[รัชกาลที่ 3]] ทั้งยังเป็นผู้ควบคุมการก่อสร้าง ถนนรอบ[[พระบรมมหาราชวัง]]<ref>ภาพเก่าในสยาม : 66</ref> ([[วัดพระแก้ว]]) [[ถนนเจริญกรุง]]ตอนใน<ref>ภาพเก่าในสยาม : 71</ref> สร้างตึกแถวขึ้นสองฝั่งถนนถวายแก่พระราชโอรสธิดาใน[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เป็นตึกชั้นเดียว ถ่ายแบบมาจากประเทศสิงคโปร์<ref>ภาพเก่าในสยาม : 71</ref> สร้าง[[วัดสุบรรณนิมิตร]] และเป็น [[คณะข้าหลวงปักปันเขตแดนไทย-พม่า]] จะเห็นว่าในแผ่นดิน[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] [[รัชกาลที่ 4]] เริ่มมีการปฏิรูปและพัฒนาประเทศครั้งใหญ่ ให้เป็นแบบยุโรปในหลายด้านโดยการจ้างชาวต่างชาติเข้ามาจัดการรูปแบบโครงสร้างในแต่ละหน่วย เช่น [[ทหาร]] [[ตำรวจ]] [[ข้าราชการพลเรือน]] คมนาคม การเก็บ[[ภาษี]]เพื่อทำถนนในพระนคร เป็นต้น


บรรทัด 40: บรรทัด 35:


== ผลงานขณะดำรงตำแหน่งเจ้าเมืองชุมพร ==
== ผลงานขณะดำรงตำแหน่งเจ้าเมืองชุมพร ==
* ในต้นปี พ.ศ. 2367 (2366)<ref>การนับปีปฏิทินเดิมนับ 1 เมษายน - 31 มีนาคม ดังนั้น พ.ศ. 2366 ในช่วงเดือนมกราคม - มีนาคม ก็คือ พ.ศ. 2367 ปัจจุบัน</ref>ในแผ่นดิน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] [[รัชกาลที่ 2]] [[พระยาเพชรกำแหงสงคราม (ซุ่ย ซุ่ยยัง)]] <ref>จดหมายหลวงอุดมสมบัติ : 153</ref>เจ้าเมืองชุมพร เป็นแม่ทัพเรือ พร้อม พระพลสงครามจางวางเมืองชุมพร (ครุฑ บ่วงราบ) นายกองเรือ ยกกองทัพเรือช่วยรบอังกฤษ ตีเมืองมะริด จับเชลยเมืองมะริด 400 คน แต่อาจเกิดจากการสื่อสารทำให้กองทัพเรือเมืองชุมพรปะทะกับกองทัพเรืออังกฤษ ทหารในบังคับ [[พระเทพไชยบุรินทร์ (ขุนทอง นิลยกานนท์)]] เจ้าเมืองท่าแซะ ([[อำเภอท่าแซะ]] [[จังหวัดชุมพร]]) เป็นผู้บังคับเรือ ถูกจับจำนวน 155 คน พร้อมเรือรบ 2 ลำ ทำให้เสียเมืองมะริด ให้แก่[[อังกฤษ]] แต่ยังไม่ได้ปักปันเขตแดน
* ในต้นปี พ.ศ. 2367 (หรือ พ.ศ. 2366 หากนับแบบเดิม) ในแผ่นดิน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] [[รัชกาลที่ 2]] [[พระยาเพชรกำแหงสงคราม (ซุ่ย ซุ่ยยัง)]] <ref>จดหมายหลวงอุดมสมบัติ : 153</ref>เจ้าเมืองชุมพร เป็นแม่ทัพเรือ พร้อม พระพลสงครามจางวางเมืองชุมพร (ครุฑ บ่วงราบ) นายกองเรือ ยกกองทัพเรือช่วยรบอังกฤษ ตีเมืองมะริด จับเชลยเมืองมะริด 400 คน แต่อาจเกิดจากการสื่อสารทำให้กองทัพเรือเมืองชุมพรปะทะกับกองทัพเรืออังกฤษ ทหารในบังคับ [[พระเทพไชยบุรินทร์ (ขุนทอง นิลยกานนท์)]] เจ้าเมืองท่าแซะ ([[อำเภอท่าแซะ]] [[จังหวัดชุมพร]]) เป็นผู้บังคับเรือ ถูกจับจำนวน 155 คน พร้อมเรือรบ 2 ลำ ทำให้เสียเมืองมะริด ให้แก่[[อังกฤษ]] แต่ยังไม่ได้ปักปันเขตแดน
* ในปี พ.ศ. 2367 ในแผ่นดิน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] [[รัชกาลที่ 2]] เป็น พระยาชุมพร (ครุฑ บ่วงราบ) รองเจ้าเมืองชุมพร หรือ ปลัดเมืองชุมพร ที่ทำการเมืองชุมพร อยู่บ้านท่ายาง
* ในปี พ.ศ. 2367 ในแผ่นดิน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] [[รัชกาลที่ 2]] เป็น พระยาชุมพร (ครุฑ บ่วงราบ) รองเจ้าเมืองชุมพร หรือ ปลัดเมืองชุมพร ที่ทำการเมืองชุมพร อยู่บ้านท่ายาง
* ในปี พ.ศ. 2369 [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] [[รัชกาลที่ 3]] โปรดเกล้าฯ ให้เป็นเจ้าเมืองชุมพร จึงย้ายที่ทำการเมืองชุมพร อยู่บ้านท่าตะเภา ในปัจจุบัน และสร้างนาทุ่งหลวง ให้ผู้ใต้บังคับบัญชาอีกด้วย
* ในปี พ.ศ. 2369 [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] [[รัชกาลที่ 3]] โปรดเกล้าฯ ให้เป็นเจ้าเมืองชุมพร จึงย้ายที่ทำการเมืองชุมพร อยู่บ้านท่าตะเภา ในปัจจุบัน และสร้างนาทุ่งหลวง ให้ผู้ใต้บังคับบัญชาอีกด้วย
บรรทัด 73: บรรทัด 68:


== แหล่งข้อมูล ==
== แหล่งข้อมูล ==
* จดหมายเหตุหลวงอุดมสมบัติ (จัน)
* จดหมายเหตุหลวงอุดมสมบัติ (จัน){{ต้องการอ้างอิงเต็ม}}
* วิจารณ์ดวงชะตา 200 ดวง
* วิจารณ์ดวงชะตา 200 ดวง{{ต้องการอ้างอิงเต็ม}}
* ภาพเก่าในสยาม
* ภาพเก่าในสยาม{{ต้องการอ้างอิงเต็ม}}
* ย่ำถนนยลถิ่นจีน
* ย่ำถนนยลถิ่นจีน{{ต้องการอ้างอิงเต็ม}}
* ตำแหน่งยศท่านเจ้าพระยาเสนาบดี 54 นาม ตั้งแต่สร้างกรุงเทพฯ ถึงร้อยปี (พ.ศ. 2325 - พ.ศ. 2425)
* ตำแหน่งยศท่านเจ้าพระยาเสนาบดี 54 นาม ตั้งแต่สร้างกรุงเทพฯ ถึงร้อยปี (พ.ศ. 2325 - พ.ศ. 2425){{ต้องการอ้างอิงเต็ม}}
* A Sketch of Siam's Gendarmerie
* A Sketch of Siam's Gendarmerie{{ต้องการอ้างอิงเต็ม}}
* Imperial Gazetteer of India
* Imperial Gazetteer of India{{ต้องการอ้างอิงเต็ม}}
* Scott 1999{{ต้องการอ้างอิงเต็ม}}
* Scott 1999


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:45, 9 มีนาคม 2556

เจ้าพระยายมราช (ครุฑ บ่วงราบ)
เสนาบดีกรมเวียง
ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ดำรงตำแหน่ง
17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2397 – พ.ศ. 2411
เจ้าเมืองชุมพร
ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
ดำรงตำแหน่ง
พ.ศ. 2369 – 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2397
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด20 เมษายน พ.ศ. 2351[1]
วันพุธ เดือน 5 แรม 10 ค่ำ ปีมะโรง
เสียชีวิต- พ.ศ. 2437
ศาสนาพุทธ

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยายมราช (ครุฑ บ่วงราบ) อดีต เสนาบดีกรมเวียง ที่ 3 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 และอดีตเจ้าเมืองชุมพร ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ทั้งยังเป็นผู้ควบคุมการก่อสร้าง ถนนรอบพระบรมมหาราชวัง[2] (วัดพระแก้ว) ถนนเจริญกรุงตอนใน[3] สร้างตึกแถวขึ้นสองฝั่งถนนถวายแก่พระราชโอรสธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นตึกชั้นเดียว ถ่ายแบบมาจากประเทศสิงคโปร์[4] สร้างวัดสุบรรณนิมิตร และเป็น คณะข้าหลวงปักปันเขตแดนไทย-พม่า จะเห็นว่าในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เริ่มมีการปฏิรูปและพัฒนาประเทศครั้งใหญ่ ให้เป็นแบบยุโรปในหลายด้านโดยการจ้างชาวต่างชาติเข้ามาจัดการรูปแบบโครงสร้างในแต่ละหน่วย เช่น ทหาร ตำรวจ ข้าราชการพลเรือน คมนาคม การเก็บภาษีเพื่อทำถนนในพระนคร เป็นต้น

ประวัติ

เจ้าพระยายมราช (ครุฑ บ่วงราบ) นามเดิม พระยาเพชรกำแหงสงคราม (ครุฑ) หรือ พระยาชุมพร (ครุธ) หรือ พระยาเพชร เจ้าเมืองชุมพร เป็นบุตร พระยาวิชิตภักดีศรีพิชัยสงคราม(มี) เจ้าเมืองไชยา มีปู่ชื่อ พระยาชุมพร (พวย) เจ้าเมืองชุมพร

ผลงานขณะดำรงตำแหน่งเจ้าเมืองชุมพร

ผลงานขณะดำรงตำแหน่งเสนาบดีกรมเวียง

รายนามผู้ปกครองอาณานิคมสยามในเขตตะนาวศรี ภายใต้จักรวรรดิอังกฤษ

  • ลำดับ 1 หลวงปักษี (คลุ้ม บ่วงราบ) พ.ศ. 2411 - 2467
  • ลำดับ 2 นายคุ้ม บ่วงราบ หรือ สมพร พ.ศ. 2467 - 2489 ถูกนายแพ้ว อุ้ยนอง พร้อมพวกลูกน้องสังหาร ที่บ้านบ้องขอน
  • ลำดับ 3 นายแพ้ว อุ้ยนอง เสียชีวิตจากไข้มาเลเรีย
  • ลำดับ 4 นายชม หรือ พรานชม ถูกกองทัพพม่าโจมตีเข้าไทยทางด่านสิงขร
  • ลำดับ 5 นายชด ชมปุระ ถูกนายสร้วง ลอบสังหารกลางงานเลี้ยง
  • ลำดับ 6 นายหลง สักคุณี ก่อนปี พ.ศ. 2506 ถูกนายพันถอไซ ลอบสังหารที่บ้านนามะพร้าว
  • ลำดับ 7 นายสร้วง ประสมชิด พ.ศ. 2507 ถูกลูกน้องลอบสังหารที่บ้านเกิดในอำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร
  • ลำดับ 8 นายพันถอไซ เริ่มปกครอง พ.ศ. 2508 หัวหน้ากลุ่มกะเหรี่ยงเสรี ออกจากราชการตำรวจพม่าจัดตั้งใหม่ เข้าปกครองแต่คนไทยบางส่วนยังไม่กลับเข้าประเทศไทย
  • ลำดับ 9 นายบาเฮา บุตร นายพันถอไซ การปกครองสิ้นสุด พ.ศ. 2535

อาณานิคมสยามในเขตตะนาวศรี ในจักรวรรดิอังกฤษ[16] ได้รับเอกราชแล้ว เช่นเดียวกับประเทศมาเลเชีย ประเทศสิงคโปร์ แต่เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 จอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้ขอความร่วมมือตีย่างกุ้งกับกองทัพญี่ปุ่น ทำให้อังกฤษและพม่าไม่พอใจ ในปี พ.ศ. 2492 รัฐบาลพม่าได้ระดมกำลังทหารเข้ายึดและปกครองเมืองมะริด ทะวาย และตะนาวศรี ต่อมาได้มีการกวาดล้างชนกลุ่มน้อยจนทำให้กะเหรี่ยงเสรีต้องอยู่ตามแนวชายแดนไทย-พม่า ส่วนคนไทยต้องอพยพเข้าประเทศไทยตั้งแต่นั้นมา และผู้อพยพกลับหลังจาก พ.ศ. 2520 จะเป็นคนไทยไม่มีบัตรประชาชน หรือ ที่เรียกว่า ไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรี, เขตตะนาวศรี

อ้างอิง

  1. วิจารณ์ดวงชะตา 200 ดวง : 171
  2. ภาพเก่าในสยาม : 66
  3. ภาพเก่าในสยาม : 71
  4. ภาพเก่าในสยาม : 71
  5. จดหมายหลวงอุดมสมบัติ : 153
  6. ประวัติวัดสุบรรณนิมิตร
  7. มะลิวัลย์ พม่าเรียกมะลิยุน สมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพเรียกมะลิวัน
  8. จดหมายหลวงอุดมสมบัติ : 371
  9. พระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัว รัชกาลที่ 4
  10. ภาพเก่าในสยาม : 66
  11. นายพันตำรวจโท ฟอร์ตี (C.H. Forty) : A Sketch of Siam's Gendarmerie
  12. ย่ำถนนยลถิ่นจีน : 11
  13. วารสาร "นครบาลวันนี้" , พ.ต.ท.ยอดชาย ผู้สันติ รอง ผกก.2 บก.จร.
  14. Imperial Gazetteer of India 5:297
  15. Scott 1999: 115
  16. Imperial Gazetteer of India 5:297

แหล่งข้อมูล

แหล่งข้อมูลอื่น