ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทฤษฎีบทของวิลสัน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 28 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q276082 (translate me)
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
บรรทัด 32: บรรทัด 32:
[[หมวดหมู่:ทฤษฎีบททางคณิตศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:ทฤษฎีบททางคณิตศาสตร์]]
{{โครงคณิตศาสตร์}}
{{โครงคณิตศาสตร์}}

[[ar:مبرهنة ويلسون]]
[[bg:Теорема на Уилсън]]
[[ca:Teorema de Wilson]]
[[cs:Wilsonova věta]]
[[da:Wilsons sætning]]
[[de:Satz von Wilson]]
[[en:Wilson's theorem]]
[[es:Teorema de Wilson]]
[[fa:قضیه ویلسون]]
[[fi:Wilsonin lause]]
[[fr:Théorème de Wilson]]
[[he:משפט וילסון]]
[[hu:Wilson-tétel]]
[[it:Teorema di Wilson]]
[[ja:ウィルソンの定理]]
[[kk:Вильсон теоремасы]]
[[ko:윌슨의 정리]]
[[lv:Vilsona teorēma]]
[[nl:Stelling van Wilson]]
[[pl:Twierdzenie Wilsona]]
[[pt:Teorema de Wilson]]
[[ro:Teorema lui Wilson]]
[[ru:Теорема Вильсона]]
[[sk:Wilsonova veta]]
[[sv:Wilsons sats]]
[[uk:Теорема Вілсона]]
[[vi:Định lý Wilson]]
[[zh:威尔逊定理]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:42, 8 มีนาคม 2556

ทฤษฎีบทของวิลสัน (อังกฤษ: Wilson's Theorem) ในคณิตศาสตร์กล่าวว่า สำหรับจำนวนเฉพาะ p > 1,

(ดูเพิ่มเติมใน แฟกทอเรียล และ เลขคณิตมอดุลาร์ สำหรับความหมายของสัญกรณ์)

ประวัติ

การพิสูจน์

ใช้ข้อเท็จจริงที่ว่า ถ้า p เป็นจำนวนเฉพาะคี่ แล้วเซต G = (Z/pZ) × = {1, 2, ... p − 1} จะอยู่ในรูปกรุปภายใต้การคูณมอดุโล pได้ นั่นหมายความว่า สำหรับแต่ละสมาชิก i ใน G จะมีสมาชิกผกผัน j ใน G ที่ทำให้ ij ≡ 1 (mod p) ได้อย่างเดียว. ถ้า ij (mod p) แล้วจะทำให้ i2 − 1 = (i + 1) (i − 1) ≡ 0 (mod p) จาก p เป็นจำนวนเฉพาะ ทำให้ i ≡ 1 หรือ −1 (mod p) , นั่นคือ i = 1 หรือ i = p − 1.

หรือกล่าวได้ว่า 1 และ p − 1 เท่านั้น ที่เป็นตัวผกผันกับตัวเอง แต่สมาชิกตัวอื่นๆใน G จะมีตัวผกผันที่แตกต่างกัน ดังนั้น ถ้าจับคู่สมาชิกตัวที่ผกผันกันใน G และคูณทั้งหมดเข้าด้วยกัน จะได้ผลคูณเท่ากับ -1 ตัวอย่างเช่น ถ้า p = 11 จะได้

สำหรับบทกลับ ให้ n เป็นจำนวนประกอบ ที่ทำให้ (n − 1) ! ≡ −1 (mod p) , ดังนั้น n จะมีตัวหารแท้ d ซึ่ง 1 < d < n ดังนั้น d หาร (n − 1) ! ลงตัว แต่ d หาร (n − 1) ! + 1 ลงตัวด้วย ดังนั้น d หาร 1 ลงตัว เกิดข้อขัดแย้ง

การประยุกต์

บทกลับ

บทกลับของทฤษฎีบทของวิลสันกล่าวไว้ว่า สำหรับจำนวนประกอบ n > 5

(n − 1) ! หารด้วย n ลงตัว

เหลือกรณีที่ n = 4 ซึ่ง 3! สมภาคกับ 2 โมดุโล 4