ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สารกึ่งตัวนำ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2+) (โรบอต: แก้ไขจาก fa:نیمه‌رسانا ไปเป็น fa:نیم‌رسانا
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 78 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q11456 (translate me)
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
[[หมวดหมู่:หลักการสำคัญของฟิสิกส์]]
[[หมวดหมู่:หลักการสำคัญของฟิสิกส์]]
{{โครงวัสดุศาสตร์}}
{{โครงวัสดุศาสตร์}}

[[af:Halfgeleier]]
[[an:Semiconductor]]
[[ar:شبه موصل]]
[[as:অৰ্ধপৰিবাহী]]
[[az:Yarımkeçiricilər]]
[[be:Паўправаднік]]
[[be-x-old:Паўправаднік]]
[[bg:Полупроводник]]
[[bn:অর্ধপরিবাহী]]
[[bs:Poluprovodnik]]
[[ca:Semiconductor]]
[[cs:Polovodič]]
[[da:Halvleder]]
[[de:Halbleiter]]
[[el:Ημιαγωγός]]
[[en:Semiconductor]]
[[eo:Duonkonduktaĵo]]
[[es:Semiconductor]]
[[et:Pooljuht]]
[[eu:Erdieroale]]
[[fa:نیم‌رسانا]]
[[fi:Puolijohde]]
[[fr:Semi-conducteur]]
[[ga:Leathsheoltóir]]
[[gan:半導體]]
[[gl:Semicondutor]]
[[he:מוליך למחצה]]
[[hi:अर्धचालक पदार्थ]]
[[hif:Semiconductor]]
[[hr:Poluvodič]]
[[ht:Semi-kondiktè]]
[[hu:Félvezető]]
[[id:Semikonduktor]]
[[is:Hálfleiðari]]
[[it:Semiconduttore]]
[[ja:半導体]]
[[ka:ნახევრად გამტარები]]
[[kk:Меншікті өткізгіштік]]
[[kn:ಅರೆವಾಹಕ]]
[[ko:반도체]]
[[ku:Nîvragihbar]]
[[la:Semiconductrum]]
[[lt:Puslaidininkis]]
[[lv:Pusvadītājs]]
[[mk:Полупроводник]]
[[ml:അർദ്ധചാലകം]]
[[mn:Хагас дамжуулагч]]
[[mr:अर्धवाहक]]
[[ms:Separa pengalir]]
[[nl:Halfgeleider (vastestoffysica)]]
[[nn:Halvleiarar]]
[[no:Halvleder]]
[[oc:Semiconductor]]
[[pl:Półprzewodniki]]
[[pnb:سیمی کنڈکٹر]]
[[pt:Semicondutor]]
[[ro:Semiconductor]]
[[ru:Полупроводник]]
[[sh:Poluprovodnik]]
[[si:අර්ධ සන්නායක]]
[[simple:Semiconductor]]
[[sk:Polovodič]]
[[sl:Polprevodnik]]
[[sq:Gjysmëpërcjellësi]]
[[sr:Полупроводник]]
[[stq:Hoolichlaitere]]
[[sv:Halvledare]]
[[ta:குறைக்கடத்தி]]
[[tl:Semikonduktor]]
[[tr:Yarı iletken]]
[[uk:Напівпровідник]]
[[ur:نیم موصل]]
[[uz:Yarimoʻtkazgich]]
[[vi:Chất bán dẫn]]
[[war:Semikonduktor]]
[[zh:半导体]]
[[zh-min-nan:Poàn-tō-thé]]
[[zh-yue:半導體]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:32, 8 มีนาคม 2556

สารกึ่งตัวนำ (อังกฤษ: semiconductor) คือ วัสดุที่มีคุณสมบัติในการนำไฟฟ้าอยู่ระหว่างตัวนำและฉนวน เป็นวัสดุที่ใช้ทำอุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์ มักมีตัวประกอบของ germanium, selenium, silicon วัสดุเนื้อแข็งผลึกพวกหนึ่งที่มีสมบัติเป็นตัวนำ หรือสื่อไฟฟ้าก้ำกึ่งระหว่างโลหะกับอโลหะหรือฉนวน ความเป็นตัวนำไฟฟ้าขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ และสิ่งไม่บริสุทธิ์ที่มีเจือปนอยู่ในวัสดุพวกนี้ ซึ่งอาจเป็นธาตุหรือสารประกอบก็มี เช่น ธาตุเจอร์เมเนียม ซิลิคอน ซีลีเนียม และตะกั่วเทลลูไรด์ เป็นต้น วัสดุกึ่งตัวนำพวกนี้มีความต้านทานไฟฟ้าลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ซึ่งเป็นลักษณะตรงข้ามกับโลหะทั้งปวง

ที่อุณหภูมิ ศูนย์ เคลวิน วัสดุพวกนี้จะไม่ยอมให้ไฟฟ้าไหลผ่านเลย เพราะเนื้อวัสดุเป็นผลึกโควาเลนต์ ซึ่งอิเล็กตรอนทั้งหลายจะถูกตรึงอยู่ในพันธะโควาเลนต์หมด (พันธะที่หยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม) แต่ในอุณหภูมิธรรมดา อิเล็กตรอนบางส่วนมีพลังงาน เนื่องจากความร้อนมากพอที่จะหลุดไปจากพันธะ ทำให้เกิดที่ว่างขึ้น อิเล็กตรอนที่หลุดออกมาเป็นสาเหตุให้สารกึ่งตัวนำ นำไฟฟ้าได้เมื่อมีมีสนามไฟฟ้ามาต่อเข้ากับสารนี้

ลักษณะภายนอก

  • มีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยม (จตุรัส หรือ ผืนผ้าก็ได้)
  • เป็นงานมีขา (Peripheral) หรือไม่มีก็ได้ งานไม่มีขา (Non-Lead) บางทีขาที่ว่าจะมีลักษณะกลม ๆ เรียกว่า บอล
  • ตัวงานจะมีลักษณะสีดำ (หรือใส (Clear resin) โดยส่วนมากจะดำ) เนื่องจากใช้เรซิ่นในการฉีดขึ้นรูป ภายในจะมีวงจรต่าง ๆ ใช้สำหรับงานต่าง ๆ กันไป

สารกึ่งตัวนำไม่บริสุทธิ์

สารกึ่งตัวนำไม่บริสุทธิ์ เป็นสารที่เกิดขึ้นจากการเติมสารเจือปนลงไปในสารกึ่งตัวนำแท้ เช่น ซิลิกอน หรือเยอรมันเนียม เพื่อให้ได้สารกึ่งตัวนำที่มีสภาพการนำไฟฟ้าที่ดีขึ้น สารกึ่งตัวนำไม่บริสุทธิ์นี้แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ สารกึ่งตัวนำประเภทเอ็น (N-Type) และสารกึ่งตัวนำประเภทพี (P-Type)

ชนิด

ก. สารกึ่งตัวนำประเภท เอ็น (N-Type)

เป็นสารกึ่งตัวนำที่เกิดจากการจับตัวของอะตอมซิลิกอนกับอะตอมของสารหนู ทำให้มีอิเล็กตรอนเกินขึ้นมา 1 ตัว เรียกว่าอิเล็กตรอนอิสระซึ่งสามารถเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระในก้อนผลึกนั้นจึงยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลได้เช่นเดียวกับตัวนำทั่วไป

ข. สารกึ่งตัวนำประเภท พี (P-Type)

เป็นสารกึ่งตัวนำที่เกิดจากการจับตัวของอะตอมซิลิกอนกับอะตอมของอะลูมิเนียม ทำให้เกิดที่ว่างซึ่งเรียกว่า โฮล (Hole) ขึ้นในแขนร่วมของอิเล็กตรอน อิเล็กตรอนข้างโฮลจะเคลื่อนที่ไปอยู่ในโฮลทำให้ดูคล้ายกับโฮลเคลื่อนที่ได้จึงทำให้กระแสไหลได้