ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คีโทน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 13: บรรทัด 13:


[[หมวดหมู่:หมู่ฟังก์ชัน]]
[[หมวดหมู่:หมู่ฟังก์ชัน]]

[[ar:كيتون]]
[[be:Кетоны]]
[[bg:Кетон]]
[[ca:Cetona]]
[[cs:Ketony]]
[[cy:Ceton]]
[[da:Keton]]
[[de:Ketone]]
[[el:Κετόνες]]
[[en:Ketone]]
[[eo:Ketono]]
[[es:Cetona (química)]]
[[et:Ketoonid]]
[[fa:کتون]]
[[fi:Ketonit]]
[[fr:Cétone]]
[[gl:Cetona]]
[[he:קטון]]
[[hi:कीटोन]]
[[hr:Keton]]
[[ht:Ketòn]]
[[hu:Keton]]
[[id:Keton]]
[[it:Chetoni]]
[[ja:ケトン]]
[[ko:케톤]]
[[la:Ketonum]]
[[lt:Ketonai]]
[[lv:Ketoni]]
[[mk:Кетон]]
[[ms:Keton]]
[[nl:Keton]]
[[no:Keton]]
[[pl:Ketony]]
[[pt:Cetona]]
[[ro:Cetonă]]
[[ru:Кетоны]]
[[simple:Ketone]]
[[sk:Ketón]]
[[sl:Keton]]
[[sr:Кетон]]
[[sv:Keton]]
[[ta:கீட்டோன்]]
[[tr:Keton]]
[[uk:Кетони]]
[[vi:Xeton]]
[[zh:酮]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:52, 8 มีนาคม 2556

หมู่คีโทน

ในสารประกอบอินทรีย์ คีโตน (อังกฤษ: Ketone, alkanone) เป็นสารประกอบชนิดหนึ่งที่ประกอบด้วย หมู่คาร์บอนิล (C=O) เชื่อมพันธะกับอะตอมคาร์บอนอื่นอีกสองอะตอมในรูปแบบ R1 (CO) R2 อะตอมที่มาแทนที่ R1 และ R2 ไม่อาจเป็นไฮโดรเจน (H) [1] เพราะเมื่อหมู่ R หมู่ใดหมู่หนึ่งเป็นไฮโดรเจน สารประกอบนี้จะเรียกว่าอัลดีไฮด์

คาร์บอนคาร์บอนิลเชื่อมพันธะกับอะตอมคาร์บอนสองอะตอมทำให้คีโทนแตกต่างจากกรดคาร์บอกซิลิก, อัลดีไฮด์, เอสเทอร์, เอไมด์, และ สารประกอบอื่นๆที่ประกอบด้วยออกซิเจน พันธะคู่ของหมู่คาร์บอนิลทำให้คีโทนแตกต่างจากแอลกอฮอล์และอีเธอร์

คีโทนที่พื้นฐานที่สุดคืออะซิโตน, CH3-CO-CH3 (ชื่อตามระบบ IUPAC คือโพรพาโนน[2])

อะตอมคาร์บอนที่อยู่ติดกับหมู่คาร์บอนิลเรียกว่า -คาร์บอน ไฮโดรเจนที่เชื่อมกับอะตอมคาร์บอนนี้เรียก -ไฮโดรเจน ในการมีอยู่ของตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดกรด ทำให้คีโทนถูกเรียกเป็นคีโต-อีนอล ทอร์โมเมอริซึม คีโทนทำปฏิกิริยาเคมีกับเบสรุนแรงให้อีโนเลตเหมือนกัน ไดคีโทนเป็นสารประกอบที่ประกอบด้วยคีโทนสองหมู่

อ้างอิง

  1. International Union of Pure and Applied Chemistry. "ketones" Compendium of Chemical Terminology Internet edition.
  2. The position of the carbonyl group is usually denoted by a number; in propanone there can only be one position. While propanone or propan-2-one is how the molecule should be named according to systematic nomenclature, the name "acetone" is retained in official IUPAC nomenclature