ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คาร์โบไฮเดรต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 53: บรรทัด 53:
[[หมวดหมู่:สารอาหาร]]
[[หมวดหมู่:สารอาหาร]]
{{Link GA|zh}}
{{Link GA|zh}}

[[af:Koolhidraat]]
[[an:Hidrato de carbonio]]
[[ar:سكريات]]
[[az:Karbohidrat]]
[[bat-smg:Onglėondėnē]]
[[be:Вугляводы]]
[[be-x-old:Вугляводы]]
[[bg:Въглехидрат]]
[[bn:শর্করা]]
[[bs:Ugljikohidrati]]
[[ca:Glúcid]]
[[ckb:کاربۆھایدرەیت]]
[[cs:Sacharidy]]
[[cy:Carbohydrad]]
[[da:Kulhydrat]]
[[de:Kohlenhydrate]]
[[dv:ކާބޯހައިޑްރޭޓް]]
[[el:Υδατάνθρακες]]
[[en:Carbohydrate]]
[[eo:Karbonhidrato]]
[[es:Glúcido]]
[[et:Sahhariidid]]
[[eu:Karbono hidrato]]
[[ext:Glúcidu]]
[[fa:کربوهیدرات]]
[[fi:Hiilihydraatti]]
[[fr:Glucide]]
[[fy:Koalhydraat]]
[[ga:Carbaihiodráit]]
[[gd:Gualuisg]]
[[gl:Carbohidrato]]
[[he:פחמימה]]
[[hi:शर्करा]]
[[hif:Carbohydrate]]
[[hr:Ugljikohidrati]]
[[ht:Kabonidrat]]
[[hu:Szénhidrát]]
[[hy:Ածխաջուր]]
[[ia:Carbohydrato]]
[[id:Karbohidrat]]
[[io:Karbohidrato]]
[[is:Sykra]]
[[it:Glucidi]]
[[ja:炭水化物]]
[[jv:Karbohidrat]]
[[ka:ნახშირწყლები]]
[[kk:Көмірсулар]]
[[ko:탄수화물]]
[[ky:Углеводдор]]
[[la:Carbohydratum]]
[[lb:Kuelenhydrat]]
[[lmo:Carbuidraa]]
[[lt:Angliavandeniai]]
[[lv:Ogļhidrāti]]
[[mk:Јаглехидрат]]
[[ml:കാർബോഹൈഡ്രേറ്റ്]]
[[ms:Karbohidrat]]
[[my:ကာဗိုဟိုက်ဒရိတ်]]
[[ne:कार्बोहाइड्रेट]]
[[nl:Koolhydraat]]
[[nn:Karbohydrat]]
[[no:Karbohydrat]]
[[oc:Glucid]]
[[om:Carbohydrate]]
[[pl:Węglowodany]]
[[pnb:کاربوہائیڈریٹ]]
[[pt:Carboidrato]]
[[qu:K'illimsayaku]]
[[ro:Glucidă]]
[[ru:Углеводы]]
[[rue:Вуглёводы]]
[[scn:Carbuidrati]]
[[sh:Ugljeni hidrati]]
[[si:කාබෝහයිඩ්‍රේට]]
[[simple:Carbohydrate]]
[[sk:Sacharid]]
[[sl:Ogljikovi hidrati]]
[[sq:Karbohidratet]]
[[sr:Угљени хидрат]]
[[su:Karbohidrat]]
[[sv:Kolhydrat]]
[[sw:Hidrati kabonia]]
[[ta:காபோவைதரேட்டு]]
[[te:పిండి పదార్ధాలు]]
[[tr:Karbonhidrat]]
[[tt:Күмерсулар]]
[[uk:Вуглеводи]]
[[ur:کاربو ہائیڈریٹ]]
[[vec:Carboidrati]]
[[vi:Cacbohydrat]]
[[war:Karbohidrato]]
[[xmf:ნოშქერწყარეფი]]
[[yi:קארבאהידראט]]
[[za:Danqsuijvaqhozvuz]]
[[zh:糖类]]
[[zh-min-nan:Carbohydrate]]
[[zh-yue:醣]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:43, 8 มีนาคม 2556

คาร์โบไฮเดรต (อังกฤษ: Carbohydrate) เป็นสารชีวโมเลกุลที่สำคัญที่เป็นองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตทุกชนิค คำว่าคาร์โบไฮเดรตมีรากศัพท์มาจากคำว่า คาร์บอน (carbon) และคำว่าไฮเดรต (hydrate) อิ่มตัวไปด้วยน้ำ ซึ่งรวมกันก็หมายถึงคาร์บอนที่อิมตัวไปด้วยน้ำ เนื่องจากสูตรเคมีอย่างง่ายก็คือ (C•H2O) n ซึ่ง n≥3 โดยคาร์โบไฮเดรตจัดเป็นสารประกอบแอลดีไฮด์ (aldehyde) หรือคีโทน (ketone) ที่มีหมู่ไฮดรอกซิล (hydroxyl group, -OH) เกาะอยู่เป็นจำนวนมาก จึงเรียกว่า สารประกอบโพลีไฮดรอกซีแอลดีไฮด์ (polyhydroxyaldehyde) หรือ โพลีไฮดรอกซีคีโทน (polyhydroxyketone) ซึ่งการที่มีหมู่ไฮดรอกซิลในโมเลกุลนั้น ทำให้เกิดการวางตัวของหมู่ดังกล่าวที่แตกต่างกัน และยังสามารถทำปฏิกิริยาหรือสร้างพันธะกับสารอื่นๆได้ ดังนั้น คาร์โบไฮเดรตจึงมีความหลากหลายทั้งในด้านของโครงสร้างทางเคมี และบทบาททางชีวภาพอีกด้วย หน่วยที่เล็กทีสุดของคาร์โบไฮเดรตก็คือน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวหรือโมโนแซคคาร์ไรด์

ประโยชน์ของคาร์โบไฮเดรต

คาร์โบไฮเดรตมีประโยชน์ที่หลากหลาย ตัวอย่างเช่น

  • เป็นแหล่งพลังงานของสิ่งมีชีวิต
  • เป็นสารตัวกลางที่สำคัญในกระบวนการเมทาบอลิซึม (metabolism)
  • เป็นโครงสร้างที่สำคัญในสิ่งมีชีวิต เช่น เป็นโครงสร้างของพืช (cellulose) หรือเป็นโครงสร้างของสัตว์
  • เป็นองค์ประกอบใน DNA และ RNA


ประเภทของคาร์โบไฮเดรต

คาร์โบไฮเดรตเป็นสารอาหารหลักซึ่งให้พลังงานเท่ากับ โปรตีน คือ 4 กิโลแคลลอรี่/1 กรัม ประกอบด้วย C คาร์บอน H ไฮโดรเจน และ O ออกซิเจน เป็นอัตราส่วน n:2n:n คาร์โบไฮเดรต แบ่งออกเป็น 3 อย่าง คือ

  1. น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว (monosaccharide) ได้แก่ glucose , fructose , galactose
  2. น้ำตาลโมเลกุลคู่ (disaccharides) ได้แก่ maltose , lactose , sucrose
  3. โพลีแซคคาไรด์ (polysaccharides) ได้แก่ starch , glycogen , cellulose

น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว

น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวเป็นโครงสร้างพื้นฐานของคาร์โบไฮเดรต เป็นคีโตนหรืออัลดีไฮด์ที่มีหมู่ไฮดรอกซิลเกาะอยู่หลายกลุ่ม แบ่งเป็นสองกลุ่มใหญ่คือน้ำตาลอัลโดส มีหมู่อัลดีไฮด์ เช่นน้ำตาลกลูโคส และน้ำตาลคีโตส มีหมู่คีโตน เช่นน้ำตาลฟรุกโตส

น้ำตาลโมเลกุลคู่

น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวจะรวมตัวเป็นน้ำตาลโมเลกุลคู่ด้วยพันธะไกลโคซิดิก ระหว่างหมู่ไฮดรอกซิลของน้ำตาลตัวหนึ่งกับคาร์บอนของน้ำตาลอีกตัวหนึ่ง ตำแหน่งที่เกิดพันธะไกลโคซิดิกแสดงโดย (1→4) ซึ่งแสดงว่า C1 ของตัวแรกต่อกับ C4 ของน้ำตาลตัวที่สอง

โพลีแซคคาไรด์

เกิดจากการต่อกันของน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวจนเป็นสายยาว โพลีแซคคาไรด์แบ่งเป็นสองชนิดคือ โฮโมโพลีแซคคาไรด์ ประกอบด้วยน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวชนิดเดียว กับเฮเทอโรโพลีแซคคาไรด์ ประกอบด้วยน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวหลายชนิด โพลีแซคคาไรด์ที่สำคัญมีหลายชนิด ได้แก่

  • แป้ง เป็นอาหารสะสมในเซลล์พืช ประกอบด้วยโพลีเมอร์ของกลูโคสสองชนิดคือ อะไมโลส ไม่แตกกิ่ง ต่อด้วย (α1→4) กับอะไมโลเพกติน เป็นสายโพลีแซคคาไรค์ที่แตกกิ่ง โดยส่วนที่เป็นเส้นตรงต่อด้วย (α1→4) และส่วนที่แตกกิ่งต่อด้วย (α1→6)
  • ไกลโคเจน เป็นอาหารสะสมในเซลล์สัตว์ มีโครงสร้างคล้ายอะไมโลเพกตินแต่แตกกิ่งมากกว่า
  • เซลลูโลส เป็นโครงสร้างของเซลล์พืช ลักษณะเป็นโซ่ตรงของกลูโคส ไม่แตกกิ่ง ต่อกันด้วยพันธะ (β1→4)
  • ไคทิน เป็นโครงสร้างของเซลล์สัตว์ พบในเปลือกหอย กุ้ง ปู เป็นโฮโมโพลีแซคคาไรด์ของ N-acetyl-D-glucosamine ต่อกันด้วยพันธะ β
  • เปบทิโดไกลแคน เป็นโครงสร้างของเซลล์แบคทีเรีย ประกอบด้วยโพลีแซคคาไรด์ของ N-acetylglucosamine และ N-acetylmuramic acid ต่อกันด้วยพันธะ (β1→4)
  • ไกลโคซามิโนไกลแคน เป็นส่วนประกอบของสารที่อยู่ระหว่างเซลล์สัตว์ ประกอบด้วยสยโพลีแซคคาไรด์ของน้ำตาลโมเลกุลคู่ซ้ำๆกัน คือ hyaluronic acid (ประกอบด้วย glucoronic acid กับ acetylglucosamine)

ไกลโคโปรตีนและไกลโคลิปิด

ไกลโคโปรตีนเป็นองค์ประกอบหลักของโปรตีนที่หลั่งออกนอกเซลล์ โดยเป็นโปรตีนที่เชื่อมต่อกับโอลิโกแซคคาไรด์ (น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวต่อกัน 3 – 5 โมเลกุล) ส่วนไกลโคลิปิดซึ่งเป็นโพลีแซคคาไรด์ที่จับกับไขมันเป็นองค์ประกอบในเยื่อหุ้มต่างๆภายในเซลล์ นอกจากนั้น ไกลโคโปรตีนบางชนิด เช่น เลกติน (lectin) หรือซีเลกติน (selectin) มีบทบาทในการจดจำเซลล์เป้าหมายของเชื้อก่อโรค จิงดิ่

อ้างอิง

  • Lehninger, A.L., Nelson, D.L., and Cox, M.M. 1993. Principle of Biochemistry. 2nd ed. New York.: Worth

แหล่งข้อมูลอื่น

แม่แบบ:Link GA