ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การตรวจพิสูจน์บุคคล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
[[หมวดหมู่:การระบุ]]
[[หมวดหมู่:การระบุ]]
{{โครงนิติวิทยาศาสตร์}}
{{โครงนิติวิทยาศาสตร์}}

[[ar:مقياس حيوي]]
[[az:Biometrik autentifikasiya]]
[[bg:Биометрия]]
[[bs:Biometrija]]
[[ca:Sensors biomètrics]]
[[cs:Biometrie]]
[[da:Biometri]]
[[de:Biometrie]]
[[el:Βιομετρία]]
[[en:Biometrics]]
[[eo:Biometrio]]
[[es:Biometría]]
[[et:Biomeetria]]
[[fa:زیست‌سنجشی]]
[[fi:Biometrinen tunnistaminen]]
[[fr:Biométrie]]
[[gl:Identificación biométrica]]
[[he:זיהוי ביומטרי]]
[[hi:बायोमेट्रिक्स]]
[[hr:Biometrija]]
[[id:Biometrik]]
[[it:Biometria]]
[[ja:生体認証]]
[[kk:Биометрия]]
[[ko:바이오메트릭스]]
[[ml:ബയോമെട്രിക്സ്]]
[[nl:Biometrie]]
[[no:Biometri]]
[[pl:Biometria]]
[[pt:Biometria]]
[[ro:Biometrie]]
[[ru:Биометрия]]
[[sh:Biometrija]]
[[simple:Biometrics]]
[[sk:Biometria]]
[[sl:Biometrija]]
[[sr:Биометрија]]
[[sv:Biometri]]
[[ta:உயிரியளவுகள்]]
[[tr:Biyometri]]
[[uk:Біометрія]]
[[ur:حیات پیمائی]]
[[vi:Sinh trắc học]]
[[zh:生物计量学]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:11, 8 มีนาคม 2556

นิติวิทยาศาสตร์
ขอบเขตนิติวิทยาศาสตร์
นิติเวชศาสตร์นิติวิศวกรรมศาสตร์
นิติทันตวิทยานิติมานุษยวิทยา
การตรวจพิสูจน์เอกลักษณ์เฉพาะบุคคล
การตรวจพิสูจน์บุคคล
การตรวจหาคราบอสุจิ ตัวอสุจิ
การศึกษาและพิสูจน์บุคคลจากฟัน
เทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์
การพิสูจน์หลักฐานการตรวจวัตถุระเบิด
การตรวจภาพเชิงซ้อน
การตรวจทางเคมีการตรวจทางฟิสิกส์
การตรวจทางชีววิทยาการตรวจทางนิติเวช
การตรวจเอกสารการตรวจวัสดุเส้นใย
การตรวจสถานที่เกิดเหตุและการถ่ายรูป
การตรวจลายพิมพ์นิ้วมือ ฝ่ามือ ฝ่าเท้า
การตรวจอาวุธปืนและกระสุนปืนของกลาง
เทคโนโลยีสารสนเทศ
AFISCDOSPICASSO
หน่วยงานในไทย
กองบังคับการอำนวยการ
พฐ.นิติวิทยาศาสตร์
วิทยาการเขต 1วิทยาการเขต 2
วิทยาการเขต 3วิทยาการเขต 4


การตรวจพิสูจน์บุคคล (อังกฤษ: biometrics) คือการใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์และวิทยาศาสตร์แขนงต่าง ๆ ในการตรวจพิสูจน์ยืนยันตัวบุคคล ว่าบุคคลมีชีวิต ศพ เศษชิ้นส่วนของศพ โครงกระดูก เศษชิ้นส่วนกระดูก เลือดหรือเนื้อเยื่อ ตลอดจนคราบต่าง ๆ ที่เกิดจากเนื้อเยื่อหรือสารคัดหลั่งจากมนุษย์ เป็นใครหรือเป็นของใคร ความรู้ทางด้านการพิสูจน์เอกลักษณ์บุคคล ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมากในการระบุตัวของศพหรือบุคคลวิกลจริตหรือหมดสติ และยังนำมาใช้ประโยชน์อย่างมากในกระบวนการสืบสวนสอบสวนเพื่อยืนยันตัวบุคคลผู้กระทำผิดกฎหมาย

ปัจจุบันมีวิธีการตรวจพิสูจน์บุคคลหลายวิธีเช่น การใช้ความจำของมนุษย์ จำได้ว่าบุคคลหรือศพที่พบเห็นเป็นใคร โดยใช้เสื้อผ้าเครื่องแต่งกายเครื่องประดับและรูปพรรณสัณฐานสูงต่ำดำขาว เชื้อชาติ รอยสัก ร่องรอยแผลเป็นและความพิการของร่างกาย ในการยืนยันตัวบุคคล ตลอดจนการใช้วิทยาการภาพเชิงซ้อนมาช่วยในการตรวจพิสูจน์บุคคล แต่ที่ได้รับการยอมรับอย่างเป็นสากล ได้แก่ การตรวจพิสูจน์ยืนยันด้วยเอกลักษณ์ลายพิมพ์นิ้วมือ เอกลักษณ์ฟัน หรือเอกลักษณ์ดีเอ็นเอ อย่างใดอย่างหนึ่ง กล่าวโดยสรุปคือ เราสามารถใช้วิธีการอื่น ๆ เป็นแนวทาง แล้วใช้ลายพิมพ์นิ้วมือหรือลักษณะฟันหรือดีเอ็นเอเป็นสิ่งยืนยันในการพิสูจน์เอกลักษณ์บุคคล

การจำแนกบางส่วนของการตรวจพิสูจน์บุคคล