ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โบราณสถานโรมันและโรมาเนสก์ที่อาร์ล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{coord|43|40|39.5|N|4|37|50.5|E|name=Arles, Roman and Romanesque Monuments}}


{{กล่องข้อมูล มรดกโลก
{{กล่องข้อมูล มรดกโลก
|Image = [[ภาพ:Arles Roman theater pillar ruins.jpg|248px]]
|Image = [[ภาพ:Arles Roman theater pillar ruins.jpg|248px]]
บรรทัด 29: บรรทัด 32:
{{Reflist}}
{{Reflist}}


{{coord|43|40|39.5|N|4|37|50.5|E|name=Arles, Roman and Romanesque Monuments}}





รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:46, 2 มีนาคม 2556

43°40′39.5″N 4°37′50.5″E / 43.677639°N 4.630694°E / 43.677639; 4.630694 (Arles, Roman and Romanesque Monuments)


โบราณสถานโรมันและโรมาเนสก์
ที่อาร์ลส์ *
  แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก
ซากโรงละครโรมันเก่า
ประเทศธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
ประเภทวัฒนธรรม
เกณฑ์พิจารณา(ii) (iv)
ประวัติการขึ้นทะเบียน
ขึ้นทะเบียน1981 (คณะกรรมการสมัยที่ 5)
* ชื่อตามที่ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก

โบราณสถานโรมันและโรมาเนสก์ที่อาร์ลส์ (ฝรั่งเศส: Arles, monuments romains et romans)[1] เป็นแหล่งโบราณสถานโรมันโบราณที่ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก ในปีค.ศ. 1981 โดยองค์การยูเนสโก ตั้งอยู่ที่เมืองอาร์ลส์ บุช-ดูว์-โรน ประเทศฝรั่งเศส

อาร์ลส์เป็นอีกหนึ่งตัวอย่างที่ดีของการปรับตัวของในสมัยเมืองโบราณกับความเจริญในยุคกลาง ประกอบด้วยอนุเสาวรีย์แบบโรมัน โดยมีอัฒจันทร์ โรงละคร และทางเดินใต้ดิน (คริปโตปอร์ติคุส) ซึ่งมีอายุตั้งแต่ 100 ปีก่อนคริสตกาล และในต่อมาราวคริสต์ศตวรรษที่ 4 อาร์ลส์ก็ได้เข้ามาสู่ยุคทองในสมัยที่สอง โดยมีโรงอาบน้ำแบบคอนสแตนติน และสุสานโบราณอาลิสคอมป์ ต่อมาในยุคคริสต์ศตวรรษที่ 11 และ 12 ก็ได้กลายมาเป็นเมืองที่น่าสนใจเมืองหนึ่งในเขตเมดิเตอร์เรเนียน โดยมีการก่อสร้างโบสถ์แซ็ง-โตรฟีม พร้อมกับหอระฆัง ภายในเขตกำแพงเมือง ซึ่งถือเป็นสิ่งก่อสร้างแบบโรมาเนสก์ที่สำคัญของโปรวองซ์[2]

เขตอนุรักษ์มีพื้นที่ประมาณ 65 เอเคอร์ โดยประกอบด้วยสิ่งก่อสร้างต่างๆดังนี้[3]

  • อัฒจันทร์แห่งอาร์ลส์ (lang-fr|Arènes d'Arles)
  • โรงละครโรมัน (Roman Theatre)
  • ทางเดินใต้ดิน (Cryptoporticus) และจัตุรัสโรมัน (Forum)
  • โรงอาบน้ำแห่งคอนแสตนติน (Thermae)
  • กำแพงเมืองโบราณ และลานฝึกทหาร (Castrum)
  • สุสานโบราณ (Alyscamps)
  • โบสถ์แซ็ง-โตรฟีม (Church of Saint-Trophime)
  • มุขครึ่งวงกลม (Exedra)


อ้างอิง

  1. Changes to Names of Properties
  2. "Arles, Roman and Romanesque Monuments: Description".
  3. Arles, Roman and Romanesque Monuments: Multiple Locations